เบื้องหลังที่แบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วงส่งผลต่อการเจริญเติบโตของต้นพืช

  Рет қаралды 204,345

Glory Farm

Glory Farm

6 жыл бұрын

ช่วยกดติดตามและกดถูกใจ Fanpage เพื่อเป็นแรงสนับสนุนให้นำเสนอคลิปวิชาการอย่างต่อเนื่อง ขอบคุณครับ
Facebook Fanpage: AvocadoKhunPae
แบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วง (ประเภทไม่สะสมกำมะถัน) เมื่อดำเนินชีวิต กินอาหาร แบ่งเซลล์ ขยายตัวนั้นก่อให้เกิดสารประกอบอินทรีย์ที่ชื่อ "กรด 5-อะมิโนลีวูลินิก" ที่เป็นสารสำคัญทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของต้นพืช คลิปนี้จะนำพาผู้ชมเข้าใจเบื้องหลังและตอบคำถามว่าอะไรเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้พืชเจริญเติบโต ใบสีเขียวเข้ม ต้นพืชมีความสมบูรณ์เมื่อรดราดหรือฉีดพ่นแบคทีเรียสังเคราะห์แสง เอกสารงานวิจัยของญี่ปุ่น www.tandfonline.com/doi/abs/10.1271/bbb.61.2025 และของนักศึกษาระดับปริญญาเอกของไทย rdo.psu.ac.th/sjstweb/ journal/24-4/24-04-2002-717-726.pdf ประกอบข้อมูลของผู้ผลิตจีน www.plantgrowthhormones.com/pl... other-plant-hormones/plant-growth-regulators-5-aminolevulinic-acid.html เป็นแหล่งอ้างอิงและที่มาของคลิปตอนนี้ สนใจอะโวคาโดอินทรีย์ติดต่อ สมบัติ พรศิริเจริญพันธ์ โทร 09-5779-3450, 08-4321-6222 Line: 0843216222 m.me/AvocadoKhunPae?fbclid=Iw... พิกัดที่ตั้ง Google Map: 18.3245426,98.4735193 ลองเข้าชมสวนได้ครับ

Пікірлер: 431
@prakobnarkburee5333
@prakobnarkburee5333 3 ай бұрын
ขอบคุณ​มาก​ที่ทำให้ เกิด​ความ​มั่นอกมั่นใจ​ใน​การ​ใช้​ ซึ่ง​หลาย​ปี​แล้ว​ได้​ปลูก​กล้วย​หอม​ทอง​กับ​น้ำว้า​ ใช้​สังเคราะห์​แสง​ ฉีด​พ่น​เป็น​ส่วน​ใหญ่​ แล้ว​ใช้​เคมี​บ้าง​เหมือนกัน​ กล้วย ใบหนาเขียว​ ลูก​ใหญ่​มาก​ ยาว​เกือบจะ​ถึง​ฟุต​ คือ​ 11 นิ้ว​ แต่​ผม​ก็​ยัง​ไม่​มั่นใจ​ว่า​เกิด​จาก​ลแบคทีเรีย​สังเคราะห์​แสง​ แล้ว​อีก​ครั้งหนึ่ง​ มี​พริก​ขี้​หนู​ขึ้น​ที่​โคนต้นยางพารา​ ผม​ก็​เอา​ น้ำ​แบคทีเรีย​ราดรด​บ่อย​ๆ​ ปรากฏ​ว่า​ยาง​ต้น​นั้น​น้ำยางออก​เยอะ​ ผม​ก็​คิดว่า​เป็น​เพราะ​ต้นยาง​ให้​น้ำยาง​ตาม​ธรรมชาติ​ หลัง​จากนี้ไป​จะ​ใช้​เป็น​หลัก​ละ​ครับ​ เพราะ​มี​ความ​มั่นอกมั่นใจ​ตาม​บทความ​ที่​ท่าน​นำเสนอ​ครับ​
@user-ne9kl7if7s
@user-ne9kl7if7s 5 жыл бұрын
แบ่งปันความรู้จากประสพการณ์ตรงครับ.. ใช้แบคทีเรียสังเคราะห์แสง​ ฉีดพ่น​ หรือรดลงดิน.. หรือทั้งสองอย่าง​ อาทิตย์ละครั้ง​ ประมาณ​ 2-3​เดือน​ โรคแคงเกอร์ในพืชตระกูลส้ม​ จะค่อยๆหายไป
@fotjaniramanrungrueng5289
@fotjaniramanrungrueng5289 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ ผมก็สังเกตุว่ามันจะค่อยๆหายไปเองครับ ใช้ทั้งสองอย่างคู่กัน psb lactic acid มันดีจริงๆครับ
@user-hb1mi3os8p
@user-hb1mi3os8p Жыл бұрын
อัตราส่วนผสมเท่าไรครับ
@arthur1311
@arthur1311 3 жыл бұрын
เป็นข้อมูลเชิงลึก ที่มีประโยชน์ สร้างความเชื่อมั่นให้กับเกษตรกร แบ่งปันความรู้แบบนี้มาสู่สังคม เรื่อยๆ ขอบคุณครับ
@AsAs-ix9fo
@AsAs-ix9fo 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะที่ให้ความรู้ลองทำดูแบบไม่มีหัวเชื้อก็แดงดีค่ะไม่ถึง2อาทิตย์ก็แดงแล้วผ่านไป1เดือนเอาไปรดพืชผักที่ปลูกไว้สวยงามเร็วทันใจค่ะใข้รดราดพริกก็เขียวสวยแตกกิ่งก้านดีมากเลยค่ะ
@kidkid5320
@kidkid5320 5 жыл бұрын
ผมทดลองใช้แบคทีเรียสังเคราะห์แสง ทุกสีมีประโยชน์ต่อพืช ทดลองใช้กับพืชที่ขาดสารอาหารใบเหลืองหยุดการเจริญเติบโต เมื่อใช้แบคทีเรียสังเคราะห์แสงผสมน้ำรดที่ใบและดินประมาณ 2 วัน พืชเริ่มแตกยอดและใบเขียวอย่างเห็นได้ชัด แบคทีเรียสังเคราะห์แสงทุกสีมีประโยชน์ต่อพืชแน่นอนครับ
@janthanamaisorn8528
@janthanamaisorn8528 5 жыл бұрын
มีสีน้ำตาลมั้ยค่ะ
@ytobent
@ytobent 5 жыл бұрын
@@janthanamaisorn8528 น้ำตาลคือ แดงผสมเขียวครับ มีทั้งสองสายพันธ์ผสมกันอยู่
@user-rp6sw9es4y
@user-rp6sw9es4y 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับที่แสดงความคิดเห็นบวกกับข้อคืดดีๆกีบทุกๆคนที่ติดตาม และมวลชน
@OppoA-vk7ww
@OppoA-vk7ww 2 жыл бұрын
ใช้ปริมาณเท่าไรค่ะราดลงดินกับน้ำ20ลิตร
@user-hb1mi3os8p
@user-hb1mi3os8p Жыл бұрын
อัตราส่วนผสมเท่าไรครับ เดือนใช้กี่ครั้งครับ
@chanaphanworrapandhkittiku8967
@chanaphanworrapandhkittiku8967 2 жыл бұрын
เพิ่งมาเริ่มดูคลิปการทำ psb จากผู้รู้ หลายท่าน ทั้งการสร้างหัวเชื้อเองและ การขยายซึ่งมีการใช้วัตถุดิบ 4-5 อย่าง อัตราส่วนมากบ้างน้อยบ้าง และแบบง่าย สุดคือมีไข่แค่ใบเดียว แต่กลายเป็นว่า ตัวแปรสำคัญคือที่มาของน้ำ ซึ่งจะทำให้ ความเข้มข้นของแบคทีเรียแตกต่างกัน เมื่อแดงสมบูรณ์แล้ว ทำดูก่อนหลายๆขวด ติดแค่ขวดเดียวก็สำเร็จแล้ว นำไปขยายต่อ ได้อีกมากมาย ยิ่งมารู้ข้อมูลการวิจัยทาง เคมีเชิงลึกมาสนับสนุน ก็ทำให้รู้ว่ามันมี ประโยชน์มากกับการเกษตร ที่จะพลิกโฉม หน้าทางเกษตร ทั้งง่าย ต้นทุนต่ำ ผลผลิตดี ดินดี สื่งแวดล้อมดี และที่สำคัญสุขภาพดี ตอนแรกก็เข้าใจว่าทำกันตามกระแส ขอบ พระคุณอาจารย์อย่างสูง ที่ได้ให้ทั้งความรู้ ความเข้าใจ และประเด็นที่ชวนคิดตาม...
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 2 жыл бұрын
ยินดีครับ
@user-ne9kl7if7s
@user-ne9kl7if7s 5 жыл бұрын
เยี่ยม​ ขอบคุณ​ ที่แบ่งปันความรู้..
@user-sh4pc7vj4l
@user-sh4pc7vj4l 6 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ...ผมเริ่มเข้าใจและมั่นใจ กับการนำไปใช้มากขึ้นครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
หวังว่าจะเป็นเช่นนั้นครับ
@nanthidaphawkham7568
@nanthidaphawkham7568 5 жыл бұрын
ขอบคุณนะคะที่สาระความรุ้ ดีมากๆๆเลยค่ะ
@WK-fk4dd
@WK-fk4dd 4 жыл бұрын
5 -ALA ความรู้ใหม่ของเกษตรอินทรีย์ ส่วนตัว ใช้ไข่ต่อเชื้อ ไม่มีผงชูรส ไม่มีน้ำปลา ก็แดงดี ใส่ต้นอะไรก็งาม ใช้ร่วมกับปุ๋ยใส้เดือน สุดยอดมาก กล้วยหอมอร่อยมาก ใส่ไม้ประดับก็สีสดมากค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ดีใจด้วยครับ อีกหนึ่งตัวอย่างของประโยชน์ของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีม่วง
@pantongloulam4672
@pantongloulam4672 5 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆๆนะคะที่เป็นวิชาการ
@ubfg349
@ubfg349 3 жыл бұрын
อธิบายละเอียดมาก​ ได้ความรู้มากขึ้น​ ผมทำไว้ขวดละ1.5ลิตร​ 20ขวด​ สูตรเหมือนกันได้สีต่างกัน​ ทั้งม่วง​ ชมพูและแดง​ ครบเดือนพอดี​ วันนี้จะลองใช้​ ขอบคุณความรู้ที่แชร์ครับ
@nutkamol
@nutkamol 5 жыл бұрын
เยี่ยมมากค่ะ..ขอบคุณมากค่ะสำหรับข้อมูลที่สุดยอด
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ยินดีครับ
@user-kr4xx8sh2h
@user-kr4xx8sh2h 5 жыл бұрын
ดีมากเลยขอบคุณนะคะที่แบ่งปัน
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ยินดีครับ
@kkkkkkkkkkkkkkkggggg
@kkkkkkkkkkkkkkkggggg 5 жыл бұрын
ลึกซึ้งมาก อาจารย์.ขอบพระคุณ.ครับ
@Amm-nc1hs
@Amm-nc1hs 3 жыл бұрын
ยอดเยี่ยมละเอียดมีงานวิจัยรองรับ มีข้อมูลดีมากค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 3 жыл бұрын
ยินดีครับที่เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร
@user-fi9wb6ph2y
@user-fi9wb6ph2y 6 жыл бұрын
มีประโยชน์มากครับสำหรับการบรรยาย ผมใช้ในนาข้าวเทผสมน้ำตอนทำเทือกและหยดตามน้ำที่สูบเข้านาครับ
@user-vq1sr8mr1t
@user-vq1sr8mr1t 5 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะหนูได้ความรู้เพิ่มอีกมากเลยค่ะ ที่นี้หนูเข้าใจแล้วค่ะหายสงสัยแล้วกลัวที่ใช้ไปแล้วมันจะผิด เพราะหนูเป็นมือใหม่หัดทำค่ะ ว่ามันก็คือสังเคาะห์แสงเป็นตัวเดียวกันสบายใจแล้วค่ะขอโทษนะคะที่รบกวนนะค่ะ ขอขอบคุณจริงๆ ค่ะและหนูจะติดตามตลอดไปค่ะ
@user-ee5ck3ds3v
@user-ee5ck3ds3v 5 жыл бұрын
ผมเพิ่งดูเป็นครั้งแรก ดูไม่ถึง 2 นาที กดติดตามเลยครับ อาจารย์อธิบายเข้าใจง่ายดีครับ ตอนนี้ผมมือใหม่ กำลังจะเริ่มปลูกผักเลยต้องการหาความรู้เยอะๆ ขอบคุณสำหรับข้อมูลนะครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ยินดีครับ ขอให้ประสบผลสำเร็จ
@nipanan
@nipanan 3 жыл бұрын
ชัดเจน มากคะ ขอบพระคุุณมากๆ คะ ให้ความรู้เป็นทาน ขอให้รวยๆๆๆ คะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@renure2232
@renure2232 6 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆ ได้ความรู้มากเลยค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ยินดีครับ
@supitchooin2086
@supitchooin2086 4 жыл бұрын
ขอบพระคุณมากครับ, กระจ่างแจ้งครับ ผมทำวิธีเดียวกัน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๒ ได้สีเขียว (ทุกครั้งที่ทำมาได้สีแดงมาตลอด)
@Soil.Fertility-D
@Soil.Fertility-D 2 жыл бұрын
สีเขียวทำอย่างไรครับ
@welthyinthezone2671
@welthyinthezone2671 5 жыл бұрын
ขอบคุณความรู้ ดีๆฮัฟฟฟฟฟ
@user-gq6xz5hh5i
@user-gq6xz5hh5i 5 жыл бұрын
สุดยอดความรู้ดีๆๆ ขอบคุณครับ
@titimafrcho5828
@titimafrcho5828 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากคะ สำหรับความรู้ที่นำมาเผยแพร่
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ยินดีครับ
@user-hb3tb8yj9h
@user-hb3tb8yj9h 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับ ที่ให้ความมั่นใจในการทำเกษตร
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ยินดีครับ
@suttananputtawong4868
@suttananputtawong4868 6 жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ
@tanawatpakdee2431
@tanawatpakdee2431 5 жыл бұрын
อธิบายได้ละเอียดดีมากคับ
@user-td1dx5gm3o
@user-td1dx5gm3o 5 жыл бұрын
ผมบัญชาขอเป็นกำลังใจที่ ท่านจะให้ความรู้และก็รายละเอียดในเรื่องนี้ต่อไปครับ ขอให้ท่านมีสุขภาพแข็งแรง มีความสุขกับการให้วิชาการครั้งนี้ ผมถือว่าเป็นประโยชน์อย่างสูงกับผู้ที่ได้มีโอกาสรับฟังรับชมครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@yesiamnuiphetcharat6389
@yesiamnuiphetcharat6389 5 жыл бұрын
การทราบที่มาที่ไปไม่มีอะไรเสียหายเลยค่ะ มีแต่ได้กับได้ ประโยชน์ขึ้นกับผู้นำไปใช้งาน ขอบคุณมากมายสำหรับข้อมูล/ความรู้ แนวคิด ตรงกับใจมากค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ดีใจที่เห็นประโยชน์ครับ
@kannmon4674
@kannmon4674 6 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะที่แบ่งปันข้อมูล แบคทีเรียสังเคราะห์สีเขียวมีคุณสมบัติเดียวกันกับสีม่วงหรือไม่ค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ประสบการณ์บอกว่าใช้แบคทีเรียสังเคราะห์แสงสีเขียวรดราดต้นพืชก็เจริญเติบโตดี แต่ไม่ทราบว่าแบคสีเขียวจะผลิต 5-aminolevulinic หรือเปล่า ยังไม่เจองานวิจัยที่อธิบายเรื่องนี้ หรือเป็นไปได้ไม๊ยว่ามันไม่ผลิต นักวิจัยจึงมุ่งสนใจเจาะจงมาที่แบคสีม่วง
@montreethongtame4834
@montreethongtame4834 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับคุณพี่. ความรู้ดีๆครับ
@user-ve5cn5qu8b
@user-ve5cn5qu8b 6 жыл бұрын
มีประโยชน์มากครับ
@balllop8316
@balllop8316 2 жыл бұрын
ใช้ได้กับพืชหัวไหมครับ ผลปลูกข่าเหลือง สามารถใช่ได้ตลอดจนถึงวันเก็บเกี่ยวผลผลิตเลยไหมครับขอบคุณครับ
@user-pt5mi3zp8o
@user-pt5mi3zp8o 5 жыл бұрын
ขอบคุณความรู้ใหม่ที่ให้ครับผม
@Tnee27
@Tnee27 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ ทำครั้งแรกไม่แดง ทำครั้งที่ 2 แดงอยู่ 4 ขวด มาหาความรู้เพิ่มเติม มาเจอคลิปนี้พอดีค่ะ ได้ความรู้มากๆ ค่ะ
@sasiratsreevichit2011
@sasiratsreevichit2011 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะที่แบ่งปัน
@mamatomyum6136
@mamatomyum6136 5 жыл бұрын
จากการไปค้นดู biosynthesis pathway ของคลอโรฟิล พบว่า 5-ala ก็คือสารสารตั้งต้นสำหรับการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์นั่นเองอะค่ะ
@user-bq3ky2cj8m
@user-bq3ky2cj8m 6 жыл бұрын
😁😁😁👌👌👌👍👍🤗🤗🤗😍😍ปลอดภัยลดต้นทุนได้ ผมโอคับจารขอบคุณขอมูลดีๆๆ
@plawan00021
@plawan00021 3 жыл бұрын
สุดยอดครับ อธิบายโดยอ้างอิงงานวิจัย มีน้อยมากที่จะพยายามหาข้อมูลมาประกอบการอธิบายเยอะขนาดนี้เพราะส่วนใหญ่จะใช้ความรู้สึกส่วนตัวเท่าน้้น
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 3 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@Tom-gardenplants1849
@Tom-gardenplants1849 6 жыл бұрын
ขอบคุณที่ให้ความรู้ค่ะ
@prayoonsonthontrae4038
@prayoonsonthontrae4038 2 жыл бұрын
ติดตามแล้วครับ ความรู้แน่นมากครับ
@komsansornnium3522
@komsansornnium3522 2 жыл бұрын
ลึกมากครับขอบคุณครับ
@user-fr3jh3ou9c
@user-fr3jh3ou9c 3 жыл бұрын
ขอบคุณมากๆครับ
@user-td1dx5gm3o
@user-td1dx5gm3o 5 жыл бұрын
ผมชอบที่ท่านบรรยายและให้รายละเอียดได้ชัดเจนจะคอยติดตามผลงานของท่านต่อไปนะครับผมบัญชาครับ
@user-fv2fq2uv6t
@user-fv2fq2uv6t 5 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ กำลังสนใจศึกษาค่ะ เกษียณออกมาจะปลูกพืชอินทรีย์กินเองค่ะ
@user-dw1lo3wr2w
@user-dw1lo3wr2w 3 жыл бұрын
Q
@verusz1109
@verusz1109 Жыл бұрын
สอบถามหน่อยครับ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงนี้มีทั้งหมดกี่สี(ชนิด)ครับ??
@yanisatattaisong7804
@yanisatattaisong7804 5 жыл бұрын
สิงที่เป็นประโยชน์ต่อพืชเลยคือ สิ่งย่อยสลายต่างๆของแบคทีเรียที่อยู่ในน้ำพืชนำไปใช้ได้ ส่วนตัวแบทีเรียเองเมื่อราดลงดิน จะเขาไปทำการย่อยสลาย อืนทรียสารต่าง ในดิน เพื่อเปลี่ยนสภาพให้อยู่ในรูปแบบที่พืชนำไปใช้ประโยชน์ได้ แต่ไม่ใช่ตัวแบคทีเรียไปทำให้พืชเจริญเติบโตโดยตรง แต่แบททีเรียเป็นตัวช่อย
@welthyinthezone2671
@welthyinthezone2671 5 жыл бұрын
55
@TOPTHL
@TOPTHL 4 жыл бұрын
ของจริง จริงๆเลยครับที่แนะนำความรู้แนวนี้
@user-do5th2rv2w
@user-do5th2rv2w 5 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@user-rs6nw1is8u
@user-rs6nw1is8u 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ
@ChampionsVII
@ChampionsVII 3 жыл бұрын
จุลินทรีย์ EM กับ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ถ้าผสมกันแล้วจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง จะตายไหมครับ ขอบคุณล่วงหน้าสำหรับคำตอบครับ
@user-gq6xz5hh5i
@user-gq6xz5hh5i 6 жыл бұрын
ติดตามตลอด ขอบคุณครับ
@weeraphatmeephan7765
@weeraphatmeephan7765 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับสำหรับความรู้.
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ยินดีครับ
@phurindu
@phurindu 5 жыл бұрын
เผื่อจะใครไปค้นคว้าเพิ่มเติมครับ Aminolevulinic acid: δ-Aminolevulinic acid (also dALA, δ-ALA, 5ALA or 5-aminolevulinic acid)
@user-ym7ur7sm2v
@user-ym7ur7sm2v 6 жыл бұрын
ดูเเล้วขนลุกชูชันดี ขอบคุณครับ
@anthiwaphaibunmanirat9798
@anthiwaphaibunmanirat9798 3 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะที่แบ่งปันอและให้ความรู้
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@user-qy4tu5hx6s
@user-qy4tu5hx6s 5 жыл бұрын
ฟังอาจารณ์บรรยายแล้วเข้าใจดีมากๆค่ะ เลื่อนลงมาอ่านคอมเม้นบางคอมเม้นก็ได้ความรู้เพิ่มขึ้นอีกค่ะ ขอบคุณมากๆค่ะ
@user-my9ds6rd7c
@user-my9ds6rd7c 5 жыл бұрын
ชอบมากครับ ขอบคุณกับความรู้ที่นำมาแบ่งปันนะครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ยินดีครับ
@LaddavanCharoensuk
@LaddavanCharoensuk 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ มีประโยชน์ หายสงสัย ขอบคุณที่ได้สละเวลาศึกษาแล้วเอามาแบ่งปันค่ะ ชอบปลูกผัก ผลไม้เป็นงานอดิเรก
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ยินดีครับ
@ung2002
@ung2002 4 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@user-pl9nr2lj8o
@user-pl9nr2lj8o 4 жыл бұрын
ได้ความรู้มากเลยครับ ผมทำได้าเขียวแต่ยังมีตะกอนเป็นสีแดงเป็นไรรึเปล่าครับ
@eakkachaijainim9614
@eakkachaijainim9614 4 жыл бұрын
ผมปลูกผักกาดขาวทุกๆปีแต่ปีนี้พิเศษหน่อยนึง..ผมใช้PSBพ่นผักทุกๆ7วัน..ทึ่งมากๆหนอนแมลง เพลี้ย มีน้อยมากๆต่างจากปีก่อนๆมีเยอะต้องใช้ยาฆ่าแมลง..แต่ปีนี้ยังไม่เคยใช้ยาฆ่าแมลงเลยคับ..สุดยอดๆๆ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
แจ๋วจริงๆ
@waruneechaihanit5001
@waruneechaihanit5001 3 жыл бұрын
ขอบคุณนะคะที่ให้ความรู้ดีๆ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@lactasoy587
@lactasoy587 2 жыл бұрын
😍😍😍😍ฟังเเล้วยินดีต้อนรับครับ
@tanachotjungvivattanawong2855
@tanachotjungvivattanawong2855 2 жыл бұрын
อ. ครับ เราควรฉีดพ่นเพื่อ ฆ่าแมลงน่าจะเป็นช่วงเย็นมั้ยครับ เพราะเช้า มีแต่แมลงดี แต่ว่าเพมื่อพ่นแล้ว ตอนเช้าก็ยังมีสารติดอยู่ ก็จะโดนแมลงดีด้ววยเหมือนกันมั้ยครับ?
@Amm-nc1hs
@Amm-nc1hs 3 жыл бұрын
ไม่เคยมีใครเอางานวิจัยของจีนมาคุยให้ฟัง มั่นใจมากๆจะใช้แน่นอนคะ
@user-fb4yk1dv2y
@user-fb4yk1dv2y 5 жыл бұрын
ผมทดลองใช้กับส้มโอ้ 1ขวด ต่อ1ต้น แตกใบดีมาก ใบใหญ่ดี ขอบคุณสัมหลับความรู้
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
สุดยอดครับ
@user-qy4tu5hx6s
@user-qy4tu5hx6s 5 жыл бұрын
ฟังแล้วทึ่งมากค่ะ ตอนนี้เริ่มทำแล้วค่ะ
@rattanaponlikitsilkul9893
@rattanaponlikitsilkul9893 5 жыл бұрын
อ่านทั้งหมดอะไรดีๆที่ทำคุณได้ลงคอกย่างไปคิตมาก
@rattanaponlikitsilkul9893
@rattanaponlikitsilkul9893 5 жыл бұрын
อ่านทั้งหมด
@rattanaponlikitsilkul9893
@rattanaponlikitsilkul9893 5 жыл бұрын
บชุ
@user-hd5pd2cc4v
@user-hd5pd2cc4v 2 жыл бұрын
ดีเยี่ยมมากครับ
@koonkatLife2017
@koonkatLife2017 5 жыл бұрын
หนูมีคุณอาเป็นแบบอย่างเลยค่ะ จึงได้ทดลองทำตามอย่างต่อเนื่องและใช้ได้ดีกับต้นพืช ภายในบ้านค่ะ ขอบพระคุณค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ยินดีครับ เห็นมีออก youtube อยู่หลายตอน เอาใจช่วยครับ
@user-hc6eb2wg6h
@user-hc6eb2wg6h 6 жыл бұрын
สุดยอดครับอาจรย์ การให้ข้อมูลของท่านเป็นประโยชน์แก่สาธารณชน เป็นกำลังใจให้ครับ
@ibrohimchemong882
@ibrohimchemong882 Жыл бұрын
ก่อนอื่นต้องขออนุญาติท่านอาจารย์ด้วยนะ ครับ เนื่องจากกระผมมีข้อมูลความรู้ที่จะมาพูดต่อเติม และเสริมต่อข้อมูลเพิ่มเติมจากข้อมูลที่อาจารย์ได้นำเสนอเอาไว้ในหัวข้อ ว่าด้วยเรื่องคุณสมบัติต่างๆของแบคทีเรียตัวนี้ หรือ ประโยชน์ของจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง สีแดง สีม่วง สีเขียว สีน้ำตาล หรือ ใดๆก็ตามซึ่งเป็นสีที่เกิดขึ้นหลังจากได้ทำการขยายเชื้อสำเร็จแล้วนั้น (เเต่ละสีก็ขึ้นอยู่กับแหล่งน้ำที่นำมาใช้) ไม่ว่าจะเป็นสีใดๆก็ตาม เมื่อเป็นจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงแล้วนั้น นอกจากการนำไปใช้กับพืชและดินแล้วผลลัพธ์ที่ออกมาเป็นที่น่าทึ่งมากๆ แต่สิ่งที่น่าทึ่งและอัศจรรย์จริงๆ สำหรับจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง สามารถนำไปใช้กับสิ่งมีชีวิตอื่นเช่น สัตว์เลี้ยง แมว วัว ไก่ หมู บ่อกุ้ง บ่อปลา หรือ การทำฟาร์มปศุสัตว์ ข้อมูลในส่วนนี้ผมได้รับมาจากการศึกษาแล้วค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม และนำมาทดลองใช้กับตัวเอง โดยผสมน้ำเปล่า และจุลินทรีย์ในปริมาณที่พอเหมาะ ให้สัตว์เลี้ยงกิน ทำให้สัตว์เลี้ยงมีสุขภาพแข็งแรงมากๆครับ มีงานวิจัยอยู่ และได้นำมาใช้งานกันแล้วสำหรับใช้บำรุงผสมน้ำให้สัตว์เลี้ยงหรือสัตว์ในฟาร์มปสุสัตว์ ที่มีจำนวนเยอะๆกิน ทั้งนี้ หารใช้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ในบ่อเลี้ยงกุ้ง บ่อเลี้ยงปลา ที่มีขนาดใหญ่ เป็นการเพิ่มสารอาหารบำรุงให้กับปลาในบ่อ หรือสัตว์เลี้ยงอื่นๆที่เป็นสัตว์น้ำ พร้อมกับการให้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียในบ่อเลี้ยงขนาดใหญ่ไปในตัว จึงสามารถลดต้นทุนการทำความสะอาด และทำให้สัตว์น้ำสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ครับ ขอบคุณ .. หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยด้วยนะครับ หากใครสงสัย ผมตอบอะไรได้ไม่มากเพราะถนนเขาพิมพ์มันจะยาววววววววววมากกกกกก ดังนั้นลองเสิร์ชหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ตหรือทางช่องยูทูปได้ ว่าด้วยเรื่อง จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงนั้นสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้กับสิ่งมีชีวิตขอบ ทั้งพืชและสัตว์ ในอนาคตอาจจะมีงานวิจัยเกี่ยวกับหารใช้จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงกับร่างกายมนุษย์
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมครับ
@user-ne9kl7if7s
@user-ne9kl7if7s 5 жыл бұрын
เยี่ยม
@DenRockRiders
@DenRockRiders 4 жыл бұрын
สุดยอดครับ ผมใช้ก็เห็นผลตามที่ว่ามานี้เลย แมลงลดลงหรือหายไปเลย โดยเฉพาะแมลงวันทอง ,หนอนแก้ว และตัวพืชเองก็มีการเจริญเติบโตที่ดี แตกใบอ่อนอย่างสม่ำเสมอ ส่วนอัตราการใช้สองช้อนโต๊ะต่อน้ำ 1.5 ลิตร ฉีดพ่นทั้งทางใบและรดลงดินครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
สุดยอด
@user-lr4pl3my5i
@user-lr4pl3my5i 5 жыл бұрын
ขอบคุณที่แบ่งปันความรู้ครับ..ผมทดลองรดปลวก กินเสาไม้ ก็ได้ผลครับ ใช้ 2อาทิตย์ครั้ง รดเพียวๆ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
สุดยอดครับ มีกรณีตัวอย่างยืนยันหลักการที่นำเสนอ
@dachachinkasem2822
@dachachinkasem2822 6 жыл бұрын
ผมดูสัก5นาที ผมกดติดตามเลยครับ ผมชอบมากครับ วิทยาศาสตร์การเกษตร มันคือ สิ่งที่พิสูจน์ได้ครับ อยากเห็น กรมพัฒนาที่ดิน เอามาแนะนำให้เกษตรกรรับรู้
@pattanachaiwonjinda5404
@pattanachaiwonjinda5404 4 жыл бұрын
กรมพัฒนาที่ดินเขาไม่เอามาแบ่งปันเกษตรกรหรอกครับ​ เขาโดนนายทุนซื้อไปแล้ว
@anurakj2759
@anurakj2759 6 жыл бұрын
ของผม ทำอาทิตแรก ได้สีเขียว ตากใว้อีกสองอาทิต เปนสีแดง อีกอาทิตได้สีน้ำตาลครับ อยากทราบว่า ใช้ใด้ทุกสีใช่ไหมครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
แสดงว่ามีแบคทีเรียสังเคราะห์แสงทั้งสองสีอยู่ในขวดตั้งแต่เริ่มแรกคือสีเขียวและสีม่วง แต่เนื่องจากแบคสีม่วงแบ่งเซลล์ได้รวดเร็วกว่า จึงค่อยๆมีปริมาณของแบคสีม่วงเพิ่มมากขึ้นกว่าแบคสีเขียว สีน้ำตาลที่เห็นเกิดจากการผสมกันระหว่างแบคทีเรียสองสี ใช้ได้ดีมีประโยชน์ครับ
@nickarmy1360
@nickarmy1360 4 жыл бұрын
สีเขียวนำไปเลี้ยงไรแดงได้ไหมครับ
@user-jl2us7qw2s
@user-jl2us7qw2s 5 жыл бұрын
ดีคับ ผมสงสัยมานานแล้วว่ามีสารสำคัญอะไรอยู่ในขวดของจุลินทรีย์สังเคราะแสง
@user-ie2qo3of7d
@user-ie2qo3of7d 2 жыл бұрын
ขอบคุณ​ค่ะ​สำหรับความรู้​ใข้กับทุเรียนมาได้4เดือนแล้วพอมาดูช่องนี้ทำให้มั่นใจว่ามาถูกทางแล้วค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 2 жыл бұрын
ยินดีครับ ขอให้ต้นทุเรียนโตไวๆสมบูรณ์ดีครับ
@user-ie2qo3of7d
@user-ie2qo3of7d 2 жыл бұрын
@@gloryfarm7477 ขอบคุณ​มากค่ะ
@pronongbangjapoh8027
@pronongbangjapoh8027 6 жыл бұрын
ขอบคุณ ครับสำหรับข้อมูลดีๆ ให้ทุกคน ตาสว่าง ในช่องทาง นักปลูก
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ยินดีครับ
@nuch.nuchjareeborisut5934
@nuch.nuchjareeborisut5934 3 жыл бұрын
สวัสดีค่ะติดตามแล้วค่ะ
@Vichai.T
@Vichai.T 2 жыл бұрын
ได้ความรู้มากครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@user-jw6vy4hu6s
@user-jw6vy4hu6s 5 жыл бұрын
ใช้น้ำคลอวทำค่ะ1อาทิตย์จะเป็นสี่เขียวมีตระกอนขุ่นๆใช่ไหมค่ะ
@user-to3zq9po9d
@user-to3zq9po9d 2 жыл бұрын
เอาแล้วๆๆๆ ผมปลูกไม้ด่างถึงว่าทำไมมันกลับมาเขียว อ๊ากกกกกกก
@nantapatratanapaisal4876
@nantapatratanapaisal4876 4 жыл бұрын
ขอบคุณครับสำหรับการนำความรู้งานวิจัยมาเผยแพร่เปรียบเทียบพร้อมทั้งแสดงความเห็นให้มือใหม่อย่างผมได้มีแนวทางในการหาความรู้และจะนำไปใช้ต่อไป ขอขอบคุณอีกครั้ง
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ยินดีครับ
@teerapongkonbandon2470
@teerapongkonbandon2470 6 жыл бұрын
สวัสดีครับ..ขอบคุณที่ให้ความรู้เกี่ยวกับแบคทีเรียสังเคราะห์..และอัตราการใช้
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 6 жыл бұрын
ยินดีครับ
@sailomburapha8691
@sailomburapha8691 5 жыл бұрын
ดูมาหลายช่องแล้วช่องนี้ชัดเจนสุด ขอบคุณที่แบ่งปันความรู้
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ยินดีครับ
@user-pp9yu8ol7q
@user-pp9yu8ol7q 3 жыл бұрын
ฉีด้ช้าฉีดเย็นอันใหนเหมาะครับ
@user-oo4ii7rx8s
@user-oo4ii7rx8s 3 жыл бұрын
อาจารย์อธิบายได้เข้าใจง่ายดีครับผมไม่เคยหังอะไรนานๆ แบบนี้มานานแล้วขอบคุณที่ค้นหาข้อมูลมาเปรียบเทียบให้ได้เข้าใจง่ายๆ...จะติดตามต่อไปครับผม
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 3 жыл бұрын
ยินดีครับ
@warittaveekarn5066
@warittaveekarn5066 Жыл бұрын
5 Ala มีในแบคทีเรียสีเขียวหรือไม่ครับ
@user-ob8fd3qp5h
@user-ob8fd3qp5h 5 жыл бұрын
ชอบ อ.มากเลยครับ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@peradechsapanan9262
@peradechsapanan9262 3 жыл бұрын
ขออนุญาตแชร์ต่อนะครับ เพื่อใช้เป็นแนวทาง
@user-lr4pl3my5i
@user-lr4pl3my5i 6 жыл бұрын
ขอบคุณครับ..ผมใช้รดปลวกที่ขึ้นกินเสาไม้..ได้ผลดีครับ..เลยรด2-3อาทิตย์/ครั้ง...น่าจะตรงกับที่ท่านนำเสนอ
@TOPTHL
@TOPTHL 4 жыл бұрын
ถูกใจมากครับอาจารย์
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 4 жыл бұрын
ยินดีครับ
@patavea9
@patavea9 5 жыл бұрын
ที่ไร่ใส่ลงท่อน้ำสปริงเกอร์เลยคะ​เป็นแบบสายน้ำพุ่งเปิดทีละแปลงสบายใช้ทีละเยอะๆ​ ยี่สิบลิตร​ เปิดทั้งแปลงประมาณ​สามงานคะ​ ใช้ดีมากดีกว่าปุ๋ยคอกเยอะคะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
เยี่ยมครับ อีกหน่อยถ้าประสบการณ์หลากหลายของเกษตรกรยืนยันไปในทิศทางเดียวกันคือใช้ได้ดีกว่าปุ๋ยคอก (คือใช้แบคฯสีม่วงอย่างเดียวโดยไม่ต้องใช้ปุ๋ยคอกร่วม) แบบนี้ชีวิตเกษตรกรอินทรีย์จะง่ายขึ้นอีกเยอะเลย
@OppoOppo-nz5bp
@OppoOppo-nz5bp 11 ай бұрын
ตกลงสีแดงดีกว่าสีเขียวไช่ไหมครับ
@HorrSTT
@HorrSTT 4 жыл бұрын
ชอบครับ จุดอ่อนของกฎตายตัว
@user-vq1sr8mr1t
@user-vq1sr8mr1t 5 жыл бұрын
จุลินทรีย์สังเคาะห์แสง กับแบคทรีเรียสังเคาะห์แสง คือตัวกันใช่หรือป่าวคะไม่เข้าใจค่ะ ถ้าใช่ทำมัยเรียกไม่เหมือนคะ รบกวนช่วยตอบหนูด้วยนะคะขอบคุณค่ะ
@gloryfarm7477
@gloryfarm7477 5 жыл бұрын
ที่ใช้ๆ กันอยู่ภาษาอังกฤษเรียก "Purple non-sulfur Photosynthetic Bacteria" และ "Green non-sulfur Photosynthetic Bacteria" จะเห็นว่าถ้าจะเรียกให้ตรงจริงๆ ต้องเรียกว่า "แบคทีเรีย" เพราะมันไม่ใช่เชื้อรา (fungi) หรือเชื้อไวรัส (virus) หรือยีสต์ (yeast) แต่เริ่มแรกเลยเกษตรกรไทยเรียกว่า "จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง" คำว่า "จุลินทรีย์" อาจถือเป็นชื่อรวมๆ ที่ใช้เรียกสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กจิ๋วแต่ละประเภท การเรียกจุลินทรีย์ดูน่าฟังกว่า ไม่มีข้อสงสัยตามมาว่าจะเป็นโทษต่อคนไม๊ย เหมือนที่บริษัทผลิตขายและเรียก "จุลินทรีย์แลคโตบาซิลรัส" ที่อยู่ในนมเปรียว จริงๆ แล้วมันคือ Lactic Acid Bacteria (แบคทีเรียชนิดหนึ่งที่ผลิตกรดแลคติก) สรุป จะเรียกอย่างไรก็ตามสบายครับ ขอให้เข้าใจว่ามันไม่ใช่เชื้อไวรัส เชื้อรา ยีสต์ แต่เป็นแบคทีเรียดีประเภทหนึ่ง
@user-ej8ow9yt9i
@user-ej8ow9yt9i Жыл бұрын
พืชช่วงแทงดอกฉีดพ่นได้ไหมคับ
การพึ่งตนเองเหมาะกับยุคนี้ใหม?
26:30
โจน จันใด ชีวิตง่ายๆ
Рет қаралды 112 М.
Gym belt !! 😂😂  @kauermtt
00:10
Tibo InShape
Рет қаралды 17 МЛН
50 YouTubers Fight For $1,000,000
41:27
MrBeast
Рет қаралды 205 МЛН
ЧУТЬ НЕ УТОНУЛ #shorts
00:27
Паша Осадчий
Рет қаралды 10 МЛН
Green sulfur photosynthetic bacteria
20:30
Glory Farm
Рет қаралды 687 М.
จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
18:36
สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมการเกษตร จัดทำโดยศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
Рет қаралды 11 М.
Gym belt !! 😂😂  @kauermtt
00:10
Tibo InShape
Рет қаралды 17 МЛН