No video

Space Debris ปัญหาขยะอวกาศ คุกขังมนุษย์โลก

  Рет қаралды 49,983

Curiosity Channel คนช่างสงสัย

Curiosity Channel คนช่างสงสัย

Күн бұрын

สั่งซื้อ Omega-3 Norway Daily ได้ที่ klarity.asia/c...
ติดตามเราที่ facebook : / curiositychannelth
Blockdit : www.blockdit.c...
Tiktok : / curiositychannelth
instagram ชีวิตส่วนตัว : / ekarajpkk
ติดต่องาน : curiositychannel.th@gmail.com
-------------------------------------
ทุกครั้งที่มนุษย์เดินทางออกนอกอวกาศ เราจะทิ้งขยะไว้เบื้องหลังเสมอ ไม่ว่าจะเป็นชิ้นส่วนถังเชื้อเพลิงที่แยกตัวออกมา เศษน๊อต เศษโลหะ เศษชิ้นส่วนยานอวกาศต่างๆ ที่แตกกระจาย จากยานอวกาศ กากเชื้อเพลิง ของเสียต่างๆ หรือแม้แต่ซากดาวเทียมที่ปลดประจำการแล้ว เราก็ปล่อยให้มันล่องลอยอยู่อย่างนั้น เราเรียกวัตถุพวกนี้ว่า ขยะอวกาศ Space Junk หรือ Space debris
ตั้งแต่ปี 1957 ที่เราส่งดาวเทียมดวงแรกขึ้นไปบนอวกาศ อวกาศรอบโลกของเราก็ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป ขยะอวกาศเราเพิ่มขึ้นทุกวันๆ จนปัจจุบัน มันก็แทบจะล้อมรอบโลกเราไปหมดแล้ว แต่ของจริงมันไม่ได้ใหญ่แบบในรูปนะ ขยะอวกาศหลายชิ้นก็มีขนาดเล็กกว่า 1 เซนติเมตร
ยิ่งเราส่งวัตถุออกนอกออกไปนอกอวกาศเท่าไหร่ เราก็ยิ่งสร้างขยะอวกาศมากขึ้นเท่านั้น จากกราฟ เราจะเห็นว่า เราส่งวัตถุออกไปนอกอวกาศเยอะแบบก้าวกระโดดเลน ในช่วงปี 2020 เป็นต้นมา โดยในปี 2023 เราปล่อยวัตถุออกนอกอวกาศมากถึง 2,664 ชิ้น เลยทีเดียว
ศาสตราจารย์ มอริบา จาห์ วิศวกรการบินและอวกาศจากมหาวิทยาลัยเท็กซัสและคณะ ได้จัดทำแผนที่ขยะอวกาศที่เรียกว่า AstriaGraph เพื่อเฝ้าติดตามวัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งหมดในอวกาศ เราพบว่า ขยะอวกาศที่ใหญ่กว่า 10 cm มีประมาณ 3 หมื่นชิ้น ขยะอวกาศที่มีขาด 1-10 cm ประมาณ 2 แสนชิ้น และขยะอวกาศที่มีขนาดเล็กกว่า 1 cm อีกมากกว่า 100 ล้านชิ้น
ศาสตราจารย์ มอริบา ได้ติดตามพฤติกรรมของขยะอวกาศเหล่านี้ และพบว่า ขยะอวกาศมักจะโคจรมาชนกันเอง แล้วขยะอวกาศขนาดใหญ่ก็จะแตกเป็นชิ้นเล็กๆ เพิ่มจำนวนขยะอวกาศขนาดเล็กมากขึ้นไปอีก
แต่นี่ก็ไม่ใช่สาเหตุเดียว ที่ทำให้ขยะอวกาศเพิ่มขึ้นนะครับ และขยะอวกาศที่เพิ่มจำนวนอย่างหยุดไม่ได้นี้ ก็จะเป็นคุก คุมขังพวกเรา ให้ติดอยู่บนโลกตลอดกาล
ในปี 1978 Donald J. Kessler นักวิทยาศาสตร์ของนาซ่า ได้เสนอแนวคิดของปรากกฎการที่เรียกว่า Kessler Syndrome หรือบางที่ก็เรียกว่า Kessler Event
แนวคิดของปรากกฎการณ์นี้ก็คือ ตอนแรก จำนวนขยะอวกาศอาจยังไม่เยอะมาก การชนกันจะเกิดขึ้นน้อย แต่เมื่อขยะอวกาศ 2 ชิ้นชนกัน มันจะแตกกระจายเป็นขยะอวกาศหลายชิ้น แล้วขยะอวกาศที่เพิ่มมา ก็จะมีโอกาสไปชนกับวัตถุอวกาสอื่นๆ เพิ่มอีก เพิ่มจำนวนขยะอวกาศขึ้นอีกเป็นทวีคูณ จาก 2 เป็น 4 จาก 4 เป็น 8 จาก 8 เป็น 16 กลายเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ เพิ่มจำนวนขยะอวกาศไปเรื่อยๆ เพิ่มโอกาสการชนกับวัตถุอื่นๆ มากขึ้น
จนในที่สุด มันจะเป็น ปฏิกิริยาลูกโซ่ ที่หยุดไม่ได้ หรือก้าวผ่าน Point of no return ไม่ว่ามนุษย์จะพยามหยุดมันแค่ไหนก็ทำไม่ได้แล้ว แล้วปรากฏการณ์นี้ จะทำลายวัตถุทุกอย่างที่โคจรอยู่ใน Low Eart Orbit ในที่สุด

Пікірлер: 103
@lordseyren5454
@lordseyren5454 Ай бұрын
ขยะอวกาศความเร็ว 10-20 กม./วินาที กระสุน 5.56x45 นาโต้ ~ 600 เมตร/วินาที (.338 ลาปัว กระสุนซุ่มยิงที่มีความเร็วสูงๆ ก็ยังแค่ 1000 เมตร/วินาที นิดๆ เองครับ) สเกลความเสียหายเลยเยอะมากๆเวลาชนกันแต่ละครั้ง
@user-wm2gj9lq3h
@user-wm2gj9lq3h Ай бұрын
นานาชาติต้องหนุนไทย ให้ส่ง มนุษย์ลุงอวกาศกับซาเล้งไทเทเนี่ยมทนความร้อนทนแรงเสียดทานสูง ขึ้นไปเก็บลงมารีไซเคิล
@user-qp2wt9fk1b
@user-qp2wt9fk1b Ай бұрын
ไร้สาระ
@tkbp4607
@tkbp4607 Ай бұрын
ใช่จริงๆด้วยเรื่องง่ายๆ ที่นานาประชาชาติ และนาซา คิดกันไปได้ ไม่ต้องไปจ้างเขาด้วย เขาทำได้โดยตนเองได้เลย😅😅😅😅
@noppadolkandid3158
@noppadolkandid3158 Ай бұрын
ลูกหลานรุ่นต่อไปอยู่ย๊ากกกมากกก.ไหนจะโลกร้อนอีก😂.สติปัญญามวลมนุษย์จะคิดแก้ไขอย่างไรต่อ..😅
@user-hj7gh2ut4i
@user-hj7gh2ut4i Ай бұрын
บางทีความรู้ก็ไม่ใช่คำตอบเสมอไป สมัยก่อนมนุษย์ไม่มีความรู้ไม่มีเทคโนโลยี ยกตัวอย่างเลยคลองแสนแสบ ย้อนกลับไปเมื่อร้อยกว่าปีมันไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้นแม้แต่ท่อระบายน้ำ ทุกคนก็ใช้ชีวิตอยู่กับน้ำที่ใสสะอาด หลังจากการปฏิวัติ เทคโนโลยีด้านเครื่องยนต์ขึ้นมา มีการประปา หลังจากนั้นมันก็เน่าเสีย เพาะการระบายน้ำที่ไม่เป็นไปตามธรรมชาติ และสิ่งปฏิกูลที่หลงเหลือจาก เครื่องยนต์ไม่ว่าจะเป็นเรือ หรือเครื่องจักรต่างๆ เช่นเดียวกับท้องทะเล ที่สมัยก่อนมีเรือเดินสมุทรลำใหญ่ๆ แต่ก็ใช้ลมจากธรรมชาติ ทะเลก็ไม่ได้สกปรกและน่ากลัวขนาดทุกวันนี้ แม้แต่ใต้ดิน ก็ถูกทำลาย ด้วยความฉลาด จากการขุดด้วยเครื่องยนต์โลหะหนักเพื่อเอาแร่ มาแปรรูปใช้ ขุดเพชรขุดทองเป็นเหมือง เช่นเดียวกับอวกาศ ก่อนหน้าที่มนุษย์จะปฏิวัติเรื่องอวกาศ ก่อนหน้าที่นามสกุลนี้จะขึ้นไปบนอวกาศ มันไม่น่าจะมีขยะอวกาศเลยแม้แต่สักชิ้นเดียว แต่หลังจากนั้น เมื่อมีการพัฒนาทางความรู้มากขึ้นเกี่ยวกับอวกาศ มันก็เป็นอย่างที่คลิปนี้ได้อธิบาย สรุปแล้วความฉลาดมันไม่เกิดประโยชน์กับโลกเลยสักนิด หรือแม้ความฉลาดของอัลเบิร์ตไอน์สไตน์ที่สามารถสร้างนิวเคลียร์ พัฒนาจนมนุษย์ตายทีเดียวนับแสนคน นั่นก็คือความฉลาดเช่นกัน ทุกสิ่งทุกอย่างถ้าไม่สามารถควบคุมได้ด้วยจริยธรรมและความพอดี มันจะพังพินาศหมด ดีแล้วที่มนุษย์เตรียมหาดาวดวงต่อไปที่จะไปทำลายต่อ ขนาดจะไปดาวอังคารครั้งหนึ่งยังเคยมีนโยบายที่จะยิงนิวเคลียร์ไปใส่ ทั้งๆที่ยังไม่ได้ไปอยู่เลยจะทำลายแล้ว มนุษย์เกิดมาเพื่อทำลายทุกสิ่งทุกอย่าง ที่มันดีอยู่แล้วหลังจากใช้งานจนคุ้มค่า
@ChopzEye
@ChopzEye Ай бұрын
ลาก่อยรุ่นเหลน ต้นทุนกำจัดแพงมากต้องรอเทคโนโลยีอีกนาน
@TanExH
@TanExH Ай бұрын
มีสิ่งที่ผมสงสัยเรื่องความเร็วและเวลา ผมอยากรู้ว่า ถ้ามีคนสร้างยานอวกาศที่มีความเร็วเหนือแสง แต่เป็นระบบบังคับเหมือนโดรน โดยมีมนุษย์บังคับและมองกล้องอยู่ที่โลก โดยให้ยานขับไปไกลที่สุดแล้วขับกลับมา ผมอยากรู้ว่าถ้ายานลำนั้นถึงโลกแล้วเราจะสามารถมองเห็นยานนั้นลำเป็นๆหรือไม่ หรือเราจะเห็นยานลำนั้นได้ในอนาคต หรือว่าเราจะเห็นอนาคตในกล้องของยานลำนั้น หรือเราจะเห็นยานทันทีที่มาถึงโลก หรือว่าเราจะเห็นยานลำนั้นตั้งแต่อดีต
@a8151732a
@a8151732a Ай бұрын
ฟังเรื่องขยะอวกาศแล้ว นึกถึงมังงะการตูนญี่ปุ่นเรื่อง "Planetes จินตนาการเหนือโลก" เกี่ยวกับธุรกิจเก็บขยะนอกวงโคจรโลก จนลูกเรือคนนึงเก็บเวลจนได้เป็นลูกเรือไปดาวพฤหัส
@bnwifi
@bnwifi Ай бұрын
ลองติดต่อไปที่สุรินทร์ ขนาดตะปูยังเสกเข้าไปในท้องคนอื่นได้ เสกโลหะลงมาที่โลกก็น่าจะทำได้สบาย
@user-qd8iy8yo4l
@user-qd8iy8yo4l Ай бұрын
มนุษย์ทั้งนั้นที่ทำ สุดท้ายเป็นภัยตัวเอง
@MonkeyDDragon-e1m
@MonkeyDDragon-e1m Ай бұрын
รบกวนสอบถามครับ พอดีผมอยากทราบว่า...ยานอวกาศที่ออกไปสำรวจนอกโลกที่ต้องเดินทางไกลๆ ยานแบบนั้นเขาเดินทางเป็นแนวตรงตลอดไหมครับ แล้วถ้าตรงอย่างเดียว ทำไมถึงไม่ชนดาว หรือ อุกกาบาตเลยครับ ผมหาข้อมูลตรงนี้ไม่ได้เลยสงสัยมานานแล้วครับ
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
อวกาศส่วนใหญ่เป็นที่ว่างครับ โอกาสชนน้อยมากๆ ที่เราเห็นกลุ่มดาวเคราะห์(ที่คนเราติดเรียกว่าอุกกาบาตน้อยเต็มไปหมดจนชนยานอวกาศ นั้นเป็นในหนังครับ กลุ่มดาวเคราะห์น้อย กลุ่มหมอกดาวเคราะห์น้อย ที่มันกระจุกตัวหนาแน่นมากๆ ดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ชิดกันมากๆ คือ ห่างกันเป็นล้านกิโลเมตร โอกาสชนมันต่ำมากๆ ครับ หลับตาพุ่งเป็นส้นตรงผ่านพวกกลุ่มเมฆอ๊อตที่เต็มไปด้วยดาวเคราะห์น้อย โอกาสชนกับอะไรยังแทบไม่มีเลยครับ ภาพจำที่หนาแน่นๆ จนไปชนยานได้เนี้ย ภาพยนต์ครับ
@twok4855
@twok4855 Ай бұрын
เดี๋ยวมนุษย์ก็หาวิธีจัดการได้เองครับ
@yajuedch
@yajuedch Ай бұрын
12:21 ฟังแล้วน่าเศร้า😢
@aolodphumrob1342
@aolodphumrob1342 Ай бұрын
อยากได้vdoรังสีคอสมิคครับ ไปหาอ่านในggเเล้วงงมากเลยมันต่างกับคลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้ายังไง
@user-fh2gh9pv3e
@user-fh2gh9pv3e Ай бұрын
อยากให้เล่าเรื่องอวกาศเกี่ยวกับหนังเรื่อง กาวิตี้ ของแซนดร้าบลูลอคบ้างครับ ฉากต่างๆรวมถึงขยะอวกาศภาพสวยมากๆครับอาจารย์ ขอบคุณครับ
@McKub
@McKub Ай бұрын
ขอตั้งคำถามนิดนึงนะครับ สิ่งที่ แก๊งของคุณทอฟฟี่ ไปเจอมา เป็นไปได้ไหมครับ ว่ามันคือขยะอวกาศ
@dellavita3463
@dellavita3463 Ай бұрын
ถึงตอนที่ขยะเยอะมากๆ จนออกนอกโลกไม่ได้ ก็เอา lazer broom ยิงไม่ได้หรอครับ หรือว่ามันทำได้ ก็เลยอาจจะมีบางประเทศที่ไม่สนใจ เก็บขยะอวกาศ ค่อยยิงแวกทางเอาตอนจะปล่อย ทีหลังงี้ 😅
@AitKub2300
@AitKub2300 Ай бұрын
แต่ขยะมันจะเล็กกว่า1ซม. เลเซอร์อาจจะยิงไม่ได้น่ะ มันเล็กเกินไป ยิงไม่โดน
@mobi4034
@mobi4034 Ай бұрын
@user-wd3sy1no5n
@user-wd3sy1no5n Ай бұрын
ทำกังหัน แบบหมุนครับ เรื่องแบบ เครื่องหลอมแบบหันหน้ารับเข้่าหาที่ขยะหมุนมา พลังงานก้อใช้พลังงานความร้อนเผาไหม้ของขยะ ทำจานรับแบบโค้งรับขยะรวมไปจุดกลางเตาหลอม
@natthakhamlong9754
@natthakhamlong9754 Ай бұрын
เอาจริงเขาก็ระดมสมองจากผู้คนมากมายแหละพี่ การสร้างใดๆส่งขึ้นไป ต้องใช้งบประมาณมหาศาลและใช้เวลาหลายปี สำคัญคือจะเอางบมาจากไหน😂ดูกล้องเจมส์เวบบ์เป็นตัวอย่าง ใช้เงินไปกว่า 10,000 ล้านดอลลาร์ = 335,284 ล้านบาทไทย 😮 การระดมทุนที่งบบานปลาย เริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี 1996 แล้วเสร็จในปี 2016(ใช้เวลาสร้าง10ปี) ต่อมาคือช่วงทดสอบแก้ไขข้อบกพร้อง กว่าจะได้ส่งไปอวกาศ เดือน ธ.ค. 2021 มหากาพย์ JWST😂😂😂😂
@LiveNotInfinite
@LiveNotInfinite Ай бұрын
ขอให้มันเป็นอย่างนั้นครับ เพราะมนุษย์ไม่รู้จักพอ ทำอะไรตามใจตนเอง จนโลกใบนี้เข้าสู่สภาวะนี้
@PeerapatChuejeen
@PeerapatChuejeen Ай бұрын
เราสามารถใช้ก้อนเจลขนาดใหญ่ หรือตาข่ายดักจับขยะอวกาศขนาดเล็กได้หรือไม่ ?
@ncembiy
@ncembiy Ай бұрын
ดาวตกที่เห็นๆกันนี่อาจไม่ใช่ เศษอุกกาบาตก็ได้ อาจเป็นพวกขยะอวกาศนี่แหละที่หล่นกลับลงมา
@Iutt-yf9jl
@Iutt-yf9jl Ай бұрын
😅มีบริษัทในประเทศญี่ปุ่นเพิ่งจะเปิดบริษัทกำจัดขยะอวกาศใช้ยานอวกาศบินเก็บรอบโลก😅😅😅
@tensyasha
@tensyasha 3 күн бұрын
คิดถึงอนิเมเรื่อง ΠΛΑΝΗΤΕΣ (PLANETES) เลย
@Mamaji-yg7pt
@Mamaji-yg7pt Ай бұрын
ความสามารถพิเศษของ มนุษย์ สร้างหายนะ😢
@saksit2788
@saksit2788 Ай бұрын
ไม่ชนพวกยาน จรวด สถานี ดาวเทียม ได้ยังไง ของใหญ่ยังพอว่า แต่ของเล็กเป็น 100,000,000 เลยนะ แล้วทำไมเค้าไม่ทำอุปกรณ์เพื่อดันพวกเศษชิ้นที่ 1cm ให้มันจกลงมาโดนชั้นบรรยากาศเผาไหม้กันอ่าครับ
@user-qi3ve8dj1c
@user-qi3ve8dj1c Ай бұрын
รอดูทุกวัน
@JrMarzer
@JrMarzer Ай бұрын
มนุษย์เราถึงขนาด สร้างกองขยะนอกโลกเลยหรอเนี้ย ในโลกมันคงเยอะไม่พอ 55555 มันต้องเอาอีก
@MrNeoNos
@MrNeoNos Ай бұрын
Thanks!
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ขอบคุณมากครับ
@user-bu1mb5yf7i
@user-bu1mb5yf7i Ай бұрын
จริงๆแล้วพวกเขาทดสอบอาวุธปั๊มปรมาณู ในอดีตน้ำฝนก็ใช้ได้ แต่ตอนนี้น้ำฝนสกปรกมาก
@hozen9454
@hozen9454 Ай бұрын
ผมว่ามันดีนะ จะได้ช่วยเราจากเอเลี่ยนบุกโลก555
@narongritkladbubpha2416
@narongritkladbubpha2416 Ай бұрын
เทคโนโลยีใดๆ เมื่อร้อยปีมานี้ก้าวกระโดดมากครับ
@YOSHIASMR
@YOSHIASMR Ай бұрын
อยากให้พี่ทำทฤษฏีพระจันทร์กล่วงหน่อยครับ เหมือนในภาพยนตร์ The moon
@user-dz7qb1uj5n
@user-dz7qb1uj5n Ай бұрын
เครื่องดูดฝุ่นต้องเข้า
@Filmclubchannel.
@Filmclubchannel. Ай бұрын
ที่ต่างดาวเค้าไม่มาที่ดาวโลก สาเหตุเค้าเห็นขยะนี้เยอะมาก เค้ากลัวติดเชื้อจากสิ่งนี้ อาจมองเราเป็นโลกขยะไม่น่าเข้าไกล้ น่าจะมีเหตุผล😊
@SunOutage
@SunOutage Ай бұрын
อีกหน่อยคงจะมีอาชีพ "ภารโรงอวกาศ" จริงๆ 😅😅😅
@aahome100
@aahome100 Ай бұрын
สร้างบุ้งกี๋ใหญ่ที่ช่วงเหมือนด้ามให้เป็นท่อเบี่ยงทิศทางออกนอกวงโคจรโลกเพื่อดักทางผ่านของขยะอวกาศ ใช้แรงความเร็วของมันเพื่อเบี่ยงออกผ่านท่อไป อาจทำให้มันมีเครื่องขับเคลื่อนด้วยระบบ Ai ด้วย ทำหลายๆเครื่อง คิดว่าขยะจะลดลงอย่างเร็ว ผมให้นิยามว่า "แม่บ้านอวกาศ"
@suputcharpetcharat7578
@suputcharpetcharat7578 Ай бұрын
เราปล่อยดาวเทียมแม่เหล็กได้ไหมไล่ดูดไว้แล้วเอาลงมา
@mycustomchannel6988
@mycustomchannel6988 Ай бұрын
ไปถึงดาวอังคาร ทำความสะอาดไม่ได้ ปล่อยมันตายเถอะครับ555
@Lp500-Hp4
@Lp500-Hp4 Ай бұрын
ผมจะบอกให้น่ะส่งปลาซ็อคเกอร์ลงเลบ
@Chaiyapos
@Chaiyapos Ай бұрын
ขออนุญาตพี่พิธีกรเป็น FC ครับ บอกตรงๆถ้าผมเป็นคนใกล้ตัวพี่ผมคงมีเรื่องถามพี่ทั้งวันอะ55555😂😂
@eightt0
@eightt0 Ай бұрын
โครงการอินเตอร์เน็ตดาวเทียมสตาร์ลิงค์จะมีผลต่อขยะอวกาศไหมครับ
@arnonkeawpoungumpai1946
@arnonkeawpoungumpai1946 Ай бұрын
เอ่อ โครงการสตาร์วอ นิหว่า
@user-นาย_ต้นไม้
@user-นาย_ต้นไม้ Ай бұрын
ใครจะไปรู้การเก็นขยะอวากาศอาจจะสร้างบางอย่างที่ล้ำๆมาก็ได้
@commanded262
@commanded262 Ай бұрын
นับวันมนุษย์ยิ่งพัฒนาขึ้นมากเท่าไหล่ก็ทำลลายมากขึ้นเช่นกัน ถึงสร้างสิ่งทดแทนได้แต่มนุษย์ย่อมมีข้อผิดพราดไม่เหมือนธรรมชาติ 😮
@Meramie-dx3td
@Meramie-dx3td Ай бұрын
ก่อนที่จะกำจัดขยะอวกาศ😅 ลองหันมากำจัดขยะบนโลกก่อนมั้ย5555 หลายพันล้านตันต่อปีนี้มันมหาศาลมากนะ แล้ววิธีกำจัดที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมก็กำจัดได้ในปริมาณที่น้อยนิด😂
@pleaseta
@pleaseta Ай бұрын
ไลค์แรกเลยล่ะ❤😊
@user-xu4sj7eb7j
@user-xu4sj7eb7j Ай бұрын
บ่งบอกถึงดาวเคราะห์ของเราจะไม่น่าอยู่ เพราะเผ่าพันธ์เราเอง
@tiwleetawin13
@tiwleetawin13 Ай бұрын
เย้โลกเราจะมีวงแหวนแล้ววว 🤣🤣🤣🤣
@ppeak-jm6nx
@ppeak-jm6nx Ай бұрын
แบบนี้ก็เหมือนมีกระสุน rail gun โคจรอยู่รอบโลกเลยสิครับ😂
@jaruwatsuton29
@jaruwatsuton29 Ай бұрын
อาจารย์ผอมลงไหม หล่อขึ้นเยอะเลยครับ
@สานฟกด
@สานฟกด Ай бұрын
เท่าเดิม55555
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ขอบคุณครับ น้ำหนักลงมาจากตอน ม.ค. ราวๆ 9kg ครับ
@user-ub6gl6ho8x
@user-ub6gl6ho8x Ай бұрын
คนเก็บขยะก็เป็นฮีโร่
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
ใช่ครับ
@Creazy031
@Creazy031 Ай бұрын
point of no return ถ้าเกิดขึ้นแล้ว กว่าที่ขยะอวกาศจะร่วงลงพื้นโลกหมดก็ใช้เวลาอีกนับพันปีเลยมั้ง
@mekhinthongjerm1104
@mekhinthongjerm1104 Ай бұрын
โลกกำลังสร้างวงแหวนเหมือนดาวเสาร์
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
แต่ไม่นสวยเท่าดาวเสาร์ 555
@user-bp8yn7xp5l
@user-bp8yn7xp5l Ай бұрын
โอ้...😳😳😳
@user-mw2ww4ie9z
@user-mw2ww4ie9z Ай бұрын
เลเซอร์มันเป็นแสง มันไปผลักได้ด้วยหรือครับ อันนี้สงสัยจริงๆ..
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
แสงก็มีพลังงาน (E=f x ramda)และโมเมนตัมครับ
@benjamins3400
@benjamins3400 Ай бұрын
ซาเล้งไทยต้องเข้านาซ่าแล้วครับ
@user-hm2hb3vk6u
@user-hm2hb3vk6u Ай бұрын
ทำคลิปมนุษย์คนแรกไปเหยียบดวงอาทิตย์คนแรกไห้ดูหน่อยครับ❤
@aodWrt
@aodWrt Ай бұрын
+1​
@jlelelr
@jlelelr Ай бұрын
จ้างกัปตันมาเวลสิครับ
@boonraypipatchol7295
@boonraypipatchol7295 Ай бұрын
เพ้อเจ้อ​ ไป​เรื่อย​
@user-ed5ji4lp5o
@user-ed5ji4lp5o Ай бұрын
🎉
@Pat.N.
@Pat.N. Ай бұрын
กลัวอะไร สถานีอวกาศขนาดใหญ่แห่งแรกของโลกก็ต้องทำจากขยะอวกาศนี่แหละ
@hahahaenter9597
@hahahaenter9597 Ай бұрын
🙏🙏🙏🙏❤️❤️❤️❤️
@wcrprs7669
@wcrprs7669 Ай бұрын
ว่าจะไปเที่ยวโลกสักหน่อย ไม่ไปแล้ว เดียวยานเป็นลอย ยานรั่ว จะแย่เอา 😂
@gmaj7705
@gmaj7705 Ай бұрын
ก่อนอื่นต้องมีหน่วยงานที่รวมให้ทุกประเทศที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับขยะอวกาศ มาทำสัญญาว่าจะปฏิบัติตามกฎที่เหมือนกฎของ FCC
@user-jh3fb9on3n
@user-jh3fb9on3n Ай бұрын
ไม่มีทางครับถ้ายังบ้าเรื่องการเมืองกับการทหาร มันมีประเทศไม่ถูกกันอยู่
@CasperWee
@CasperWee Ай бұрын
ทั้งหมดนี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานสามประการคือ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปที่ไม่ได้ใช้เฉพาะนอกโลกเท่านั้น แต่ยังใช้ได้กับภายในด้วยเช่นเดียวกัน สิ่งที่แตกต่างกันภายนอกคือ สเกลใหญ่กับสเกลเล็ก สิ่งที่เหมือนกันภายในก็คือ สเกลเล็กกับสเกลใหญ่ ซึ่งถ้าหากมองผ่าน Standard model (อนุภาค-คลื่น) ที่เป็นแค่ Symmetry Systems ทุกคนจะเห็นว่าทั้งสองสเกลมันก็มีอยู่แค่นี้คือ สเกลเล็กกับสเกลใหญ่ ที่มองอย่างไร มองมุมไหน มองเวลาใด ทุกคนก็จะเห็นเพียงแค่สเกลเล็กกับสเกลใหญ่ ที่เล็กก็คือเล็ก ใหญ่ก็คือใหญ่เหมือนเดิม แต่ในความเป็นจริงอีกด้านหนึ่งที่ทุกคนไม่เคยรู้ไม่เคยสัมผัสไม่เคยมองเห็นเลยก็คือ เมื่อมองผ่าน Supersymmetry (คลื่น-อนุภาค) แต่ละสเกลจะมีการก๊อปปี้ตัวเองและก๊อปปี้กันและกัน ที่นอกจากจะมีกระบวนการแยกออกเป็น 2 4 8 16 ไปเรื่อยๆแล้ว ยังมีกระบวรการรวมเข้าด้วยกัน (สลับร่างสร้างรักเกิดเป็นข้อมูลใหม่ๆ สิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยีใหม่ๆ ความรู้ความเข้าใจใหม่ๆฯลฯ) และยังมีการแสดงคุณสมบัติของอนุภาคหรือคลื่นอย่างใดอย่างหนึ่งในชั่วขณะหนึ่ง และยังมีการแสดงคุณสมบัติของทวิภาคของคลื่น-อนุภาคเป็นได้ทั้งคลื่นและอนุภาค และในทางกลับกันคลื่นก็จะมีทั้งคุณสมบัติของคลื่นเองและอนุภาคด้วย ทุกคนอาจจะคิดว่าข้อมูลเรื่องอนุภาคและคลื่นนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่ใครใครก็รู้กัน แต่ในความเป็นจริงความรู้กับความเข้าใจและการนำไปใช้เป็นคนละเรื่องกันเลยเช่นเดียวกับการมองภาพเดียวกัน แต่มีคำอธิบายภาพที่แตกต่างกันการมองปัญหาของขยะและอื่นๆก็เช่นเดียวกัน การกำจัดขยะหรืออะไรก็ตามไม่ว่าจะนอกโลกหรือในโลกเราสามารถทำได้สองทางผ่าน พลังงานที่มีความต่อเนื่อง (กำจัดโดยการกำจัด/ทางตรง/สเกลที่ใหญ่กว่า 1 ซม.) และพลังงานที่ไม่มีความต่อเนื่อง (กำจัดโดยไม่กำจัด/ทางอ้อม/สเกลที่เล็กกว่า 1 ซม.) โดยทั้งสองทางจะมีวิธีคิด รู้สึกและลงมือปฏิบัติที่ด้านหนึ่งมีความเหมือนหรือคล้ายคลึงกันมาก แต่อีกด้านหนึ่งจะมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงที่ในทางฟิสิกส์และคณิตศาสตร์เรียกว่า ระบบไม่เชิงเส้น
@teamyboyz6927
@teamyboyz6927 26 күн бұрын
5555 ขังตัวเองสะงั้น
@citizenlovedevelopment
@citizenlovedevelopment Ай бұрын
😮😮😮🙏🙏🙏❤️🌎
@KeattisakSantipoommong
@KeattisakSantipoommong Ай бұрын
มนุษย์สายพันธุ์ไทยเท่านั้นครับจะแก้ปัณหาได้😊😊😊เพราะมนุษย์สายพันธุ์นี้จะมีมุมมองที่สายพันธุ์ทางยุโรปสายพันธุ์เอเซียอื่นๆไม่มีครับ😂😂😂,🤣🤣🤣
@Jihad_Bung_kai
@Jihad_Bung_kai Ай бұрын
ประเทศไทยมี พรบ อวกาศ น่าจะรับงานไปเก็บกวาดขยะ😂
@curiosity-channel
@curiosity-channel Ай бұрын
เราต้องสร้างยานเก็บขยะ แล้วรับจ้างเก็บให้ประเทศต่างๆ น่าจะเหมาะกับเราดี
@seareal9786
@seareal9786 Ай бұрын
เรารอใช้นะพวกถุงรีไซเคิล แต่มันไม่ยอมผลิตให้เราใช้ มันเอาแต่ถุงพลาสติกมาให้ใส่ของ ถุงผ้าเราก็มีนะ แต่บางครั้งก็ลิม😂😂😂
@momocoong
@momocoong Ай бұрын
เกี่ยวอะไรกับเนื้อหาคลิปเนี่ย
@natthakhamlong9754
@natthakhamlong9754 Ай бұрын
แต่หนูไม่มีสักถุง ไม่ใช้ถุงค่ะ แบบนี้หนูท้องมั้ย😮 ฮ่าๆๆๆ
@Inforstep
@Inforstep Ай бұрын
แล้วพลาสม่าจากดวงอาทิตย์ที่ปะทุออกมามันจะทำลายขยะเหล่านี้ได้ไหมครับ
@user-fx8ho7if2c
@user-fx8ho7if2c Ай бұрын
ถ้าอย่างนั้นบริษัทที่ส่งดาวเทียมขึ้นไปมากๆถ้ามันหมดอายุเขาจะรับผิดชอบหรือไม่
@user-jd9rc2eu1q
@user-jd9rc2eu1q Ай бұрын
เอาง่ายๆถ้าเราแก้ตั้งแต่วันนี้ยังพอมีทางแก้คือยานทุกยานที่ขึ้นบนอาวกาศต้องสามารถทำลายตัวเองได้พาตัวเองออกจากวงโคจรได้เอาลงโลกหรือออกนอกอาวกาศอันไหนดีกว่าก็ต้องลองแต่มันต้องมีตัวทำลายตัวเอง
@user-jd9rc2eu1q
@user-jd9rc2eu1q Ай бұрын
ตอนนี้ยังไม่มีปัญหาแต่คิดดูว่าอีก100ปีข้างหน้า1000ปีข้างหน้าจะเกิดอะไรขึ้นมันเล็กกะจิงแต่ถ้ามันไปชนกับยานอาวกาศจะเกิดไรขึ้นคิดเอายานอาวกาศที่ปล่อยไปควรมีเชื้อเพลิงสำหรับพามันหลุดออกจากวงโคจรโลกด้วยอนาคตมีปัญหาแน่นอนแล้วสัญญาจะถูกตัดขาดถ้าไม่มีญานอาวกาศวันนั้นโลกคงต้องเปลี่ยนแปลงเยอะแน่ๆสัญญานเน็ตต่างๆโทรคมนาคมกะต้องใช้ยานอาวกาศถ้าไม่มีอาจจะต้องกลับไปใช้ยุคเดิมๆแต่ไม่แน่วันนั้นอาจจะมีเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้นมาแทน
@user-wy8he7ru3d
@user-wy8he7ru3d Ай бұрын
วิธีกำจัดขยะอวกาศก็แค่สร้างแรงกระแทกไปที่แกรนโลกให้โลกกยุดหมุนขยะทั้งหมดจะหลุดวงโคจรเหมือนรีใหม่รวมถึงโลกด้วย
ตัวกรองอารยธรรม (The Great filter)
24:46
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 25 М.
Giant-impact hypothesis ทฤษฎีกำเนิดดวงจันทร์
30:09
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 193 М.
طردت النملة من المنزل😡 ماذا فعل؟🥲
00:25
Cool Tool SHORTS Arabic
Рет қаралды 10 МЛН
Kind Waiter's Gesture to Homeless Boy #shorts
00:32
I migliori trucchetti di Fabiosa
Рет қаралды 11 МЛН
КАКУЮ ДВЕРЬ ВЫБРАТЬ? 😂 #Shorts
00:45
НУБАСТЕР
Рет қаралды 3,1 МЛН
ตำนาน Transistor
40:31
9arm
Рет қаралды 587 М.
Dark Oxygen ออกซิเจนมืด มาจากไหน?
19:09
Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Рет қаралды 153 М.
ปริศนามนุษย์ต่างดาวแห่งห้วงจักรวาลอันลึกลับ
11:40
Abdulthaitube - อับดุลย์เอ๊ย ถามไรตอบได้!
Рет қаралды 103 М.