แนวทางการต่อลงดินและแนวทางการตอกหลักดิน

  Рет қаралды 3,615

ช่างไฟไทยแลนด์ 1985

ช่างไฟไทยแลนด์ 1985

Жыл бұрын

Пікірлер: 17
@GOD-BlessYou
@GOD-BlessYou Ай бұрын
ขอบคุณคับ ได้คำตอบแล้ว
@PAKEKED_
@PAKEKED_ Жыл бұрын
บ้านเก่าจะต่อหลักดิน เราต้องต่อสายดินของเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละตัวไปเข้าบัสบาร์ดินไช่ไหใครับ จะต่อสายดินร่วมกันเป็นเส้นเดียวแล้วไปต่อกับบัสบาร์ดินได้ไหมครับ
@pps.sks1985
@pps.sks1985 Жыл бұрын
ถ้ามีการตอกหลังดิน แล้วมีการติดตั้งบัสบาร์ G สายกราวด์ของเครื่องยนต์ไฟฟ้าก็ให้จั้มออกมาจากบาร์ G ถ้าไปจั้มสายกราวด์หลายๆเส้นรวมกัน ถ้าสายกราวด์ที่ต้นทางมันหลุดหรือมันหลวม มันก็จะทำให้สายกราวด์ของวงจรอื่นๆส่งผลกระทบไปด้วย
@punt2553
@punt2553 Жыл бұрын
ตกลงเราตอกหลักดินเพื่ออะไรครับ หรือแค่ต้องผ่านมาตรฐานการไฟฟ้า วสท. หรือ NEC
@pps.sks1985
@pps.sks1985 Жыл бұрын
อธิบายไปแล้วลองไปหาดู
@samakornseateer4565
@samakornseateer4565 Жыл бұрын
แล้ว หลักดินไฟ AC กับ DC ล่ะครับ ต้องห่างกันไหม ห่างเท่าไหร่ หรือรวมกันได้เลย เพราะสุดท้ายก็มารวมกันอยู่ดี
@pps.sks1985
@pps.sks1985 Жыл бұрын
ก็เป็นหลักดินของระบบโซล่าเซลล์ก็ควรจะแยกต่างหากออกจากระบบไฟบ้าน ก็ควรจะห่างกันสัก 6 เมตรเป็นอย่างน้อย
@punt2553
@punt2553 Жыл бұрын
วัดค่าความต้านทานเกิน 5 โอมห์ แล้วขอการไฟฟ้าเพื่อขออนุญาตผ่านการตรวจสอบ แล้วจะช่วยเรื่องความภัยจากใช้ไฟฟ้ากรณีไฟดูดไฟรั้ว หรือป่าวครับ
@pps.sks1985
@pps.sks1985 Жыл бұрын
ต้องศึกษาทำความเข้าใจด้วยนะว่าสายกราวด์ที่มาจากบาร์กราวด์ไม่เกี่ยวอะไรกับค่าความต้านทานของแท่งกราวด์นะ admin เคยทำคลิปอธิบายไปแล้วลองไปหาดู
@P.Vithaya
@P.Vithaya Жыл бұрын
ถ้าหากค่าความต้านทานมากกว่า​ 5​ โอหม์​ จะมีผลเสียอะไรบเางครับ
@pps.sks1985
@pps.sks1985 Жыл бұрын
ถ้าค่าความต้านทานมากกว่า 5 โอห์ม มันก็จะมีแรงดันตกคร่อมที่โครงโลหะของโหลดและสายกราวด์สูง ก็คือโครงโลหะของโหลดมันจะมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าพื้นดิน ถ้าศักย์ไฟฟ้าสูงมากเท่าไหร่ก็ยิ่งเป็นอันตรายมากเท่านั้น เพราะเราก็จะโดนไฟดูดได้ เพราะมันมีความต่างศักย์ทางไฟฟ้าระหว่างโครงโลหะกับพื้นดิน
@P.Vithaya
@P.Vithaya Жыл бұрын
@@pps.sks1985 ขอบคุฯครับ
@P.Vithaya
@P.Vithaya Жыл бұрын
สอบถามเพิ่มเติม​ ถ้าหากใส่​ เบรกเกอร์ชนิด​ RCBO.กับโหลดนั้นๆ​ เช่น​ เครื่ิองทำน้ำอุ่น​ ตรงนี้จะช่วยให้ปลอดภัยขึ้นมั้ยครับ​ (ค่าโอหม์มากกว่า​ 5)
@pps.sks1985
@pps.sks1985 Жыл бұрын
@@P.Vithaya ถ้าใส่เบรกเกอร์กันดูดมันก็จะช่วยให้ปลอดภัยมากขึ้น เพราะอย่างน้อยถ้ามีไฟรั่ว แล้วโครงโลหะของโหลดมีความต่างศักย์จากพื้นดินสูง กระแสที่รั่วไหลจากโหลดที่จะสามารถไหลกลับไปหาแหล่งกำเนิดของมันได้ ก็ยังมีโอกาสที่จะทำให้เบรกเกอร์กันดูดมันตัดวงจรได้ แต่ก็ต้องเลือกพิกัดกระแสรั่วไหลต่ำๆหน่อย อย่างเช่นเลือกพิกัดกระแสรั่วไหลที่ 10 หรือ 15 มิลลิแอมป์ เพราะถ้าค่าความต้านทานของสายกราวด์มันสูง กระแสที่ไหลกลับไปหาแหล่งกำเนิดของมันได้จะไม่สัมพันธ์กับกระแสที่รั่วไหลจริงจากโหลด เพราะกระแสที่ไหลกลับไปหาแหล่งกำเนิดของมันได้จะน้อยกว่ากระแสที่รั่วไหลจริง อันเนื่องมาจากสายกราวด์มีค่าความต้านทานสูง จึงต้องเลือกใช้เบรกเกอร์กันดูดที่มีพิกัดกระแสรั่วไหลต่ำๆ ยังไงติดตั้งเบรกเกอร์กันดูดเพิ่มเติมก็ปลอดภัยมากขึ้นครับ
@P.Vithaya
@P.Vithaya Жыл бұрын
@@pps.sks1985 ขอบคุณครับ
@loveeachother2858
@loveeachother2858 Жыл бұрын
ไปขอมิเตอร์จ่ายห้าร้อยก็ผ่านแล้วครับ
@pps.sks1985
@pps.sks1985 Жыл бұрын
มันไม่ง่ายขนาดนั้นหรอกมั้ง บอกหน่อยสิว่าการไฟฟ้าเขตพื้นที่ไหนบ้างที่มันง่ายขนาดนั้น
ในระบบไฟฟ้าทำไมต้องเอา N ต่อลงดิน ?
15:34
ช่างไฟไทยแลนด์ 1985
Рет қаралды 9 М.
มาตรฐานแท่งหลักดิน ( Ground Rod )
10:19
Gym belt !! 😂😂  @kauermtt
00:10
Tibo InShape
Рет қаралды 17 МЛН
Red❤️+Green💚=
00:38
ISSEI / いっせい
Рет қаралды 83 МЛН