เปิดประวัติศาสตร์ชาพันปี และเส้นทางชาไทย- จีน I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.116

  Рет қаралды 476,722

ประวัติศาสตร์ นอกตํารา

ประวัติศาสตร์ นอกตํารา

2 жыл бұрын

“ไม่ยอม ….แม้ว่าจะให้ชาทั้งเมืองจีน” เป็นคำกล่าวของขาวตะวันตกที่ให้การยกย่องชาจีน
เรื่องราวชาของจีนยังสามารถยัอนกลับไปได้นับพันปี เช่น “ชาผูเออร์” ในมณฑลยูนนาน
น่าสนใจที่ดินแดนสยามมีประวัติศาสตร์ส่วนหนึ่งบนถนนแห่งอดีตของชาจีนชนิดนี้ด้วย โดยผ่านเส้นทางการค้าที่เรียกว่า “ถนนสายชาม้า”
ปัจจุบันจีนยังคงพัฒนาชาผูเออร์อย่างไม่หยุดยั้ง ไม่เพียงทำให้ประวัติศาสตร์ยังคงมีชีวิตต่อไป แต่ยังสร้างให้เกิดมูลค่าอย่างมหาศาลในทุกวันนี้ด้วย

Пікірлер: 316
@aeraersolaol7662
@aeraersolaol7662 2 жыл бұрын
กว่าจะได้คลิปคุณภาพซักหนึ่งคลิปถึงกับยอมเดินทางออกนอกประเทศ ยอมเดินทางขึ้นเขา ช่องที่ยอมทำเพื่อคนดูขนาดนี้ขอให้ยอดคนติดตามถึง 1 ล้านซับไว้ๆนะครับ
@nirote2023
@nirote2023 2 жыл бұрын
เป็นการการันตีได้ว่าทุกเรื่องที่ลงไว้เป็นเรื่องที่เป็นจริง มีหลักฐานยืนยันได้ ไม่ได้เอาเรื่องเล่าหรือตำนานเก่าแก่มาลงแต่อย่างใด นับถือๆ
@kankan4212
@kankan4212 2 жыл бұрын
ฟะ
@nirunonprom7035
@nirunonprom7035 2 жыл бұрын
"เสียดายรายการที่ดีมีคุณภาพแบบนี้.. ไม่ค่อยมีในสื่อทีวีไทย..." มีแต่รายการกอบปี้กัน.. แข่งร้องเพลง/เกมติงต๊อง/ข่าวแนวลบทั้งวัน-ยันค่ำคืน..
@user-tj6sg3jq6y
@user-tj6sg3jq6y 2 жыл бұрын
เมิงล้า (เมืองล้า ) เป็น อำเภอขึ้นกับจังหวัดสิบสองปันนา ติดชายแดนประเทศลาว ตามตัวอักษรไทลื้อเขียนว่า ล้า แต่ออกเสียงไทลื้อว่า หล่า เป็นชื่อเมืองของบรรพชนผมเอง ผมเป็นชาวไทลื้อเชียงคำ เรียกน้ำชา ว่า น่ำหล่า ขอบคุณรายการข้อมูลดีมากครับ ขอเพิ่มเติมอีกนิดน่ะครับ แต่ยังมีเมืองลา เมิงลา ที่เป็น เมืองไทลื้อ ในรัฐฉานเขตพม่า ตรงข้ามสิบสองปันนาอีกด้วย กลัวสลับเรื่องชื่อเมืองกันครับ
@pizadaily1630
@pizadaily1630 2 жыл бұрын
คนทางภาคเหนือกินชามาตั้งแต่โบราณ เรียกใบเมี้ยง
@urumonchulpanthong3361
@urumonchulpanthong3361 2 жыл бұрын
ที่ต.สกาด​ อ.ปัว มีต้นชา​ใบใหญ่ดั้งเดิมปลูกมาแต่สมัยโบราณนานมากกว่า700ปีมาแล้ว​ หัวหน้าบ้านเล่าว่าบางต้นอาจถึงหลักพันปีชาวบ้านท้องถิ่นสมัยก่อนทำเมี่ยง​ ปัจจุบันยังหลงเหลือไม่กี่บ้านที่คนแก่(มากๆ)​ยังทำเมี่ยงอยู่​
@bobthimyaem2884
@bobthimyaem2884 2 жыл бұрын
สารคดีตอนนี้ดีมาก อยากให้ประเทศไทย …ได้ผลิตสารคดีดีๆมาให้ได้ชมกันอีก สุดยอด เลย
@MegaKokang
@MegaKokang 2 жыл бұрын
ผมว่าทำได้ดีพอๆกับสารคดีส่องโลกของ โจ๋ย บางจาก เลยครับ
@user-jj1ck1wf6v
@user-jj1ck1wf6v 2 жыл бұрын
ใช่ครับมีการลงทุนไปถึงเมืองจีนด้วยครับเรียกว่าเอาคุณภาพจริงๆถึงจะปล่อยคลิปออกมา
@ket_sara_draw189
@ket_sara_draw189 2 жыл бұрын
เห็นด้วยค่ะ
@nirote2023
@nirote2023 2 жыл бұрын
ที่สำคัญคือ ตามชื่อว่องว่า "ประวัติศาสตร์นอกตำรา" คือแทบจะไม่มีการบันทึกอย่างทางการ บางเรื่องเป็นเรื่องซ่อนเร้นไม่อยากกล่าวถึงด้วยเหตุผลบางประการจึงไม่บันทึกไว้ แต่ช่องนี้นำออกมาบันทึกและเผยแผ่ให้ชาวโลกได้รู้ ขอบคุณครับ
@kanasakthongsak1310
@kanasakthongsak1310 10 ай бұрын
@@user-jj1ck1wf6v แต่ละตอนต้องใช้เว​ลานานนับเดือน​ๆ​ เพื่อความสมบูรณ์​ของ​เนื้อหา​ สุดยอด​ครับคุ้มค่า​กับ​เวลา​ที่​ดู​ในแต่ละ​ตอน​ๆ
@dragonmaejo
@dragonmaejo 2 жыл бұрын
สุดยอดมาก จากใจคนชอบชา อยากให้ทำเกี่ยวกับดอกหอมหมื่นลี้ด้วยครับ ดอกไม้โปรดของผมเลย
@napittayodphet8700
@napittayodphet8700 2 жыл бұрын
ชอบเสียงพากษ์นี้มากค่ะ ฟังมาหลายตอนแล้ว ฟังรื่นหู น้ำหนักขึ้นลงของน้ำเสียงเป็นธรรมชาติชวนฟังนมาก จังหวะจะโคลนกำลังพอดี เนื้อหาของรายการก็ดีมากค่ะ สรุปคือชอบค่ะ
@user-uy2hl8sh9u
@user-uy2hl8sh9u 2 жыл бұрын
+1 ฟังสบายไม่เหนื่อย ละมุน จิบกาแฟไปฟังไป สบายใจ
@wisans.5085
@wisans.5085 2 жыл бұрын
ผมว่า..เสียงคุณอดิศักดิ์
@user-ns5iq4jk5s
@user-ns5iq4jk5s 2 жыл бұрын
สำเนียง การเล่าเรื่องเหมือนกับอาจารย์ท่านหนึ่งชาวสุพรรณบุรี คือท่าน ดร. สมเกียรติ อ่อนวิมล ครับ
@user-mi2qd6ke1q
@user-mi2qd6ke1q 2 жыл бұрын
นี่คือมืออาชีพที่หายไปจากจอหลักครับ คุณอดิศักดิ์ ศรีสม ขิง ยิ่งแก่ ยิ่งเผ็ชชชช
@gin82280
@gin82280 2 жыл бұрын
เสียงคุณอดิศักดิ์ ศรีสม
@user-ns5iq4jk5s
@user-ns5iq4jk5s 2 жыл бұрын
ชอบมากเลยครับ ติดตามทุกเรื่องทุกตอน ให้ได้ความรู้ที่กว้างขวางมากยิ่งขึ้น ผมก็เป็นชาติพันธุ์เหมือนกันครับเชื้อสายมอญในกรุงหงสาวดีครับต้นตระกูลเข้ามาอพยพในยุคพญาเจ่ง ครับ มาตั้งรกรากที่ อ.สามโคก ฝั่งตะวันออกปากคลองสำแล ใกล้ปากคลองประปา ย้ายมาอยู่ที่ อ. คลองหลวง ประมาณ พ.ศ. 2471 ผมชอบรายการประวัติศาสตร์นอกตำราของคุณมากครับ ฟังแล้วก็คิดถึงสมัยก่อนๆ ที่เขาดำเนินชีวิตกันอย่างไร ผมเป็นครู ได้แนะนำให้นักเรียนเปิดดู ครับนักเรียนเขาชอบมากครับ ขอบคุณครับ
@user-yj5mh1sj1e
@user-yj5mh1sj1e 2 жыл бұрын
เสียงของผู้บรรยายมีส่วนทำให้สารคดีนี้มีความน่าติดตามและน่าติดตามและน่าเชื่อถือได้มากถึง80%เลยครับสุดยอดผู้บรรยายอันดับหนึ่งของ(โลก)เลยครับ
@user-ly9ls1dc3h
@user-ly9ls1dc3h 2 жыл бұрын
ขอบคุณครับได้ความรู้เกี่ยวกับชามากมายเลย...ดื่มชามาประมาณ 15 ปีแล้วทั้งชาดำ อู่หลง แต่จะเน้นหนักไปที่ชาเขียวมากกว่าจนถึงปัจจุบัน ก็คงจะดื่มน้ำชาไปเรื่อยๆ.....
@Jack90Travel
@Jack90Travel 2 жыл бұрын
เป็นรายการที่เปิดความรู้อีกด้านนึง ที่ดูแล้วได้รับรู้ได้เห็นสิ่งที่ไม่เคยเห็นมากก่อนของเพื่อนบ้านครับ
@MegaKokang
@MegaKokang 2 жыл бұрын
สมัยเด็ก 50ปีก่อนหมู่บ้านที่ผมเกิดเป็นหมู่บ้านตีนเขา ในช่วงฤดูแล้งชาวเขาจะเอาเมี่ยง จะค่าน มะแขว่น น้ำผึ้ง กล้วยไม้ และผลผลิตจากป่าอื่นๆมาแลกข้าวสารแลกเอาทั้งข้าวสารและข้าวเปลือกใครจะให้เป็นเงินเขาก็รับ แต่หลักๆจะแลกเป็นข้าว
@weesomboon3363
@weesomboon3363 2 жыл бұрын
ได้ทั้งความรู้ที่ไม่เคยรู้ เห็นภาพที่ไม่เคยเห็น ยอดเยี่ยมมากๆครับ ขอบคุณที่ทำสารคดีคุณภาพแบบนี้ให้ประชาชนได้เข้าถึงครับ
@anumasboon-ngam7305
@anumasboon-ngam7305 2 жыл бұрын
ได้ความรู้เยอะมากครับขอบคุณที่ผลิตรายการนี้มาให้ชมครับ
@user-mi2qd6ke1q
@user-mi2qd6ke1q 2 жыл бұрын
โอย...อยากให้รายการนี้ลงจอหลัก ทีวีช่องไหนมาจัดไปที นี่คือของดี คือมืออาชีพที่หายจากจอไปนานมาก ทั้งข้อมูล ภาษา เสียงบรรยาย ภาพประกอบ ดีงามหมด เสียดายรสนิยมคนเสพสื่อยุคนี้ เห่อหืมกันกับยูทูปเบอร์หน้าใหม่ บางช่องไม่มีมาตรฐานใดๆเลย แต่คนดันเสพอะไรแบบนั้น เสียดายมืออาชีพที่อาจล้มหายเพราะพ่ายให้กระแสการเสพสื่อขยะ เสียดายจริงๆ +1กำลังใจ ชื่นชม รักพวกคุณนะ...
@user-hv2mu6zp6c
@user-hv2mu6zp6c Жыл бұрын
แหม ...เราเพิ่งทราบว่า "ชาแดง" เพิ่งเริ่มในสมัยราชวงศ์ชิง ....คือ มันสำคัญเลย เราเคยแปลเอกสารจีน ตั้งแต่ 20กว่าปีก่อนเรื่องชา สมัยนั้นเอามาลง Website ตัวเอง เค้าแบ่งขายเป็น 3ระดับ - ชาเขียว ออกแนวบดผง หรืออย่างน้อยแค่แนว "ตากแห้ง" - ชาแดง เริ่มมีปฎิกริยาเคมีทางธรรมชาติมาเกี่ยวข้อง - ชาดำ ....อันนี้เข้มสุด ปฎิกริยาเคมีมาเต็ม การรับทราบว่า ...ชาแดง เพิ่งโผล่มาในโลกยุคราชวงศ์ชิง อันนี้เพิ่มความรู้เรา
@Whippet_Mailo4565
@Whippet_Mailo4565 2 жыл бұрын
ที่เชียงรายบนที่ราบสุง มีชาอายุมากถึง 1,000 ปีเลยที่เดียว
@taiusagi
@taiusagi 2 жыл бұрын
สารคดีตอนนี้ดีมากๆๆๆค่ะ อยากให้สารต่อพัฒนาและส่งเสริมชาในประเทศไทย … ช่องนี้ควรมีสปอร์เซอร์เข้าเยอะ จะได้ผลิตสารคดีดีๆมาให้ได้ชมกันอีกนะคะ คลิปนี้ คือ สุดยอด รักเลย ❤️
@nathapoltasnawijitwong5612
@nathapoltasnawijitwong5612 2 жыл бұрын
เห็นด้วยเรื่องสปอนเซอร์ครับ อยากเห็นช่องนี้ผลิตสารคดีที่มีคุณภาพแบบนี้ไปอีกนานๆครับ
@thongyuinyutthanayothin7333
@thongyuinyutthanayothin7333 2 жыл бұрын
ขสลงง
@oilsuriyapa8677
@oilsuriyapa8677 2 жыл бұрын
@@nathapoltasnawijitwong5612 00
@user-zg8vi4wg9p
@user-zg8vi4wg9p 2 жыл бұрын
ขอให้ช่องนี้อยู่กะยูทูปไปนานๆ ครับ ชอบมากครับ
@user-ww8cz6wk4v
@user-ww8cz6wk4v 2 жыл бұрын
รักชอบมากที่สุด ""ประวัติศาสตร์นอกตำรา"" อยู่นานๆนะ เรารักคุณ😊☺😮😊😯😮🙏🙏💚💖❤💙💛💜💜💚💛💝💟👍💖❤💚💛💚💚💚💚💚💚💚💚💚💚💚💚💚💚
@winmanthai
@winmanthai 2 жыл бұрын
เป็นสารคดีที่เจาะลึกในรายละเอียดดีมากครับ แต่เป็นการเจาะลึกไปในชาประเภทพู่เอ๋อ อยากให้ทำเกี่ยวกับชาพวก อู่หลง และชาเขียวด้วย ซึ่งมูลค่าทางเศรษฐกิจก็ไม่ใช่น้อย และมีไร่ชาในประเทศไทยที่ผลิตชาประเภทนี้ และเป็นที่สนใจในอันดับโลกอยู่ด้วยครับ
@trytoo4505
@trytoo4505 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณสำหรับสารคดีตอนนี้นะคะ รู้สึกตกใจและดีใจที่ได้เรียนรู้รากเหง้าของตัวเองผ่านสารคดีค่ะ คุณตาเล่าว่าเคยค้าขายบนหลังม้าจนมาเจอเมืองไทยแล้วรู้สึกชอบมากจึงอพยพมาอยู่ไทย ทุกวันนี้ยังยึดการปลูกชา ค้าชาเป็นอาชีพค่ะ
@sboonthae
@sboonthae 2 жыл бұрын
มีเเต่คนสวยๆถูกใจเสี่ยมากๆ
@ILoveyou-dx5yx
@ILoveyou-dx5yx 2 жыл бұрын
ติดตามตลอดครับ เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้ตัวเอง ขอบคุณ🙏
@ZREDefore
@ZREDefore 2 жыл бұрын
เยี่ยมมากมากที่สุด บ้านห้วยแก้วสวยมากครับ
@user-yi4du1ki7o
@user-yi4du1ki7o 2 жыл бұрын
ชอบดื่มชาอาจเพราะมีเชื้อสายจีนไหว้เจ้าเสร็จก็เป็นของเรา ชาไทยต้องชาเย็นตรามือ ชาเขียวญี่ปุ่นเข้ามาไทยก็ชาเขียวนม พอไปอยู่อินเดียก็ชาอัสสัมใส่นมแต่ในฤดูหนาวจะใส่ขิงลงไปเพื่อเพิ่มความอบอุ่น
@user-tl9cn2cj7z
@user-tl9cn2cj7z 2 жыл бұрын
เหมี้ยง เป็นคำยืมภาษาจีนในล้านนา มาจากคำว่าหมิง (茗) เดิมหมายถึงใบชาที่แก่ ปัจจุบันหมายถึงชา แต่ใช้เป็นคำสุภาพ คำสูง
@thebeardman_th
@thebeardman_th 2 жыл бұрын
คำสูง คำสุภาพ เช่นคำว่า บ่าขี้เหมี้ยง!!!! 5555 หยอกๆนะครับ ขอบคุณที่แชร์ความรู้ครับ
@paweenawisetrat1169
@paweenawisetrat1169 2 жыл бұрын
กินบ่อยตอนเด็กๆ ไปบ้านไหรก้อมีเหมี้ยง ยายขอบใช้ไปซื้อทีละ ห้าบาท ใส่น้ำส้ม น้ำเชื่อมหวาน ขิงซอย เกลือ อร่อยดี
@bentochannel8128
@bentochannel8128 2 жыл бұрын
หมาก เมี้ยง ปู(พลู) มูลี(บุหรี่) เป็นของว่างรับแขกคนเมือง(ล้านนา)
@chanwitbk6300
@chanwitbk6300 2 жыл бұрын
เมี้ยง ใบพืชชนิดหนึ่ง กินเหมือนหมากพูล ปัจุบันเหลือเพียงม.บ้านเดียว มีภาษาลาวน้ำปาดที่เหลือแต่น้อยหนัก อ.จุน ม.ห้วยกั้ง
@dearfillings8869
@dearfillings8869 2 жыл бұрын
น้ำเมี้ยง = น้ำชาหมัก ขี้เมี้ยง = สนิมกินเหล็ก
@user-mt8ze9le5q
@user-mt8ze9le5q 2 жыл бұрын
ดื่มมาตั้งนาน พึ่งจะรู้ที่มาวันนี้นี่เอง ... รวมทั้ง เมี่ยง เป็นสิ่งที่ผมชอบกิน ก็พึ่งจะทราบว่าทำมาจากใบชาใหญ่นี่เอง ขอบคุณรายการประวัติศาสตร์นอกตำรา มาก ๆ นะครับ ที่นำความรู้ดี ๆ แบบนี้มาให้ชมและดู ได้ความรู้และสนุกด้วยครับ...เป็นกำลังใจให้สร้างสารคดี ที่ดี ๆ แบบนี้ตลอดไปนะครับ...ขอบคุณครับ
@teerapatnaiyanate5058
@teerapatnaiyanate5058 2 жыл бұрын
ผมชอบดื่มชามากๆ เรื่องนี้ถูกใจเลยครับ
@warangkhanboadang8943
@warangkhanboadang8943 2 жыл бұрын
ชอบช่องนี้มากค่ะ.อะไรที่ไม่เคยรู้ก็ได้รู้.ขอให้อยู่คู่ยูทูปไปนานๆนะคะจะติดตามและเป็นกำลังใจให้ค่ะ
@TheTyson678
@TheTyson678 2 жыл бұрын
ดูทุก ep. จริงๆ เป็นกำลังใจให้ทีมงานนะครับ
@wanchaimarongrit6679
@wanchaimarongrit6679 2 жыл бұрын
จีนมีภูเขาหุบเขามากมายเหมาะแก่การเพราะปลูกอีกทั้งสมัยก่อนก็ไม่ได้สนใจประกาศให้ใครรู้ ที่อินเดียอาจมีบ้าง อึกทั้งอากาศที่เหมาะสมก็คงเป็นอัสัมกระมัง ถ้าเครืีองเทศอีนนี้ตอบได้โดยไม่ต้องคิดมากว่าอืนเดีย
@sorayathanajaro373
@sorayathanajaro373 2 жыл бұрын
สรรพคุณของเมี่ยงหรือชาคงจะมีมากพอสมควร เมื่อหลายปีมาแล้ว ได้เข้าป่าล่าสัตว์กับพี่ชาย บังเอิญข้าวสารหมดจะกลับบ้านแต่พี่ชายบอกให้นอนต่ออีกหนึ่งคืน ได้อีเก้งมาตัวหนึ่งจึงย่างเนื้อกินแทนข้าว พอกินอิ่มเกิดอาการคลื่นไส้จะอาเจียรทำอย่างก็ไม่หาย พอดีพี่ชายเอาเมี่ยงติดตัวไปด้วยจึงลองกินเมี่ยงเข้าไป มันได้ผลเกินคาด อาการคลื่นไส้หายเป็นปลิดทิ้งเลย
@vimontkunpiboon372
@vimontkunpiboon372 2 жыл бұрын
โอ้..ดีใจจังได้เห็นเมืองที่เคยไปมาแล้ว (เมืองอิงหง) มีร้านอาหารไทใหญ่ ฉันได้สอนสูตรอาหารไทยให้เค้าด้วย คุยกันภาษาไทย แต่ต้องอภิบายอีกทีเค้าดีใจสุดๆๆที่ฉันสอนสุตรอาหารไทยให้ 💟
@anonmaesotnanta6481
@anonmaesotnanta6481 2 жыл бұрын
วัฒนธรรม​ชงชามีมานานหลายพันปีเป็นสินค้าส่วนหนึ่งของเส้นทางการค้าในอดีตวัฒนธรรม​กินเมี่ยงในล้านนาก็ยังพอมีอยู่บ้างในล้านนาแต่ก็มีการกินเมี่ยงน้อยลงบางทีในชนบทยังเห็นการทานเมี่ยงในงานบุญ​งานศพอยู่บ้างขอบคุณ​ทีมงาน​ที่​น​ำ​มา​เรื่องราว​ของชามาให้ชมนะครับ​
@user-hw5iu6tm9f
@user-hw5iu6tm9f Жыл бұрын
9
@jirapatpromraksa8811
@jirapatpromraksa8811 2 жыл бұрын
ช่องนี้ชมดูแล้วได้รู้เรื่องราวในโลกที่เราไม่เคยรู้ มีหลากหลายเรื่องราว ขอไห้ผลิตความรู้ออกมาสู่โลกออนไลน์มากๆและนานๆนะคะ ขอบคุณค่ะ
@moodaeng
@moodaeng 2 жыл бұрын
พอคลิปใหม่มาอยากเปิดดูทันทีเลยค่ะ แต่แหม.. ต้องละไว้ก่อน เดี๋ยวเลิกงานมาดูค่ะ รอคลิปใหม่ทุกวันเลย คลิปเก่าก็ดูแล้วดูอีก โดยเฉพาะเรื่องที่คุณบรรยายนะ ชอบเสียงบรรยายคุณมาก ฟังเพลินแล้วได้ความรู้ด้วย ขอบคุณมากจริงๆ
@freedomlee894
@freedomlee894 2 жыл бұрын
บ้านห้วยน้ำขุ่น อ.แม่สรวย ต้นชาป่าอัสสัมมีเยอะมาก ต้นใหญ่สูง
@pannapasornda8037
@pannapasornda8037 2 жыл бұрын
ชื่นชอบรายการนี้มากๆค่ะ ได้ความรู้เยอะแยะมากมาย ดูครบแล้วทุกตอน อยากให้ทำ ประวัติศาสตร์กาแฟด้วยค่ะ เป็นกำลังใจให้ทำรายการต่อไปเรื่อยๆนะคะ
@newworld6292
@newworld6292 2 жыл бұрын
เป็นช่องสารคดีที่ดูแล้วสนุกทุกตอนจริงๆแปลกใหม่ตลอดไม่มีเบื่อเลย
@pauleagle6281
@pauleagle6281 2 жыл бұрын
ที่น่าสนใจเรื่องชาคือ รากศัพท์ เกือบทั้งโลกมีรากศัพท์ 3 คำ ชา (cha) เต้ (te) และ ไช (chay) ..ในเอเชียทางตะวันออก มักเรียก "ชา" เช่น ไทย จีนกลาง จีนกวางตุ้ง ฟิลิปปินส์ ญี่ป่น เกาหลี รวมทั้งอินเดียทางเหนือ ยกเว้น เขมร มาเล อินโด เรียกที่แปลงมาจาก "เต้" ..ในยุโรปตะวันตก (ยกเว้น โปรตุเกส เรียก "ชา") และอินเดียทางใต้ และ เขมร มาเล อินโด มักเรียกที่แปลงจาก "เต้" คาดว่ามาจากจีนฮกเกี้ยน ในยุโรปสันนิษฐานว่าเอามาจากมาเล ..ยุโรปตะวันออก อาหรับ ประเทศในทางสายไหม และมองโกล จะเรียกตามที่แปลงมาจาก "ไช" สันนิษฐานว่าเป็นคำที่ใช้เส้นทางสายไหม
@hilatchikkakul8980
@hilatchikkakul8980 2 жыл бұрын
ผมว่า ชา กับ ไช น่าจะมาจากอันเดียวกัน และมีข้อสังเกตด้วยว่า พวกที่ใช้คำนี้ ก็ล้วนแต่ติดต่อค้าขายกันทางบก ซึ่งต่างจากคำที่ขึ้นต้นด้วย ต หรือ ท ซึ่งชาติต่างๆที่รับไปใช้ มักติดต่อค้าขายกันทางทะเล ยังมีอีกคำ คือ คำว่า ลา ที่ใช้ในพม่า ซึ่งมีคนสันนิษฐานว่า น่าจะเป็นคำดั้งเดิม เก่าแก่ที่สุดของภาษาตระกูลจีนทิเบต (ซึ่งภาษาพม่าก็อยู่ในกลุ่มนี้) สำหรับใช้เรียกพืชนี้ คำที่ขึ้นต้นด้วย ล นี้ ไม่แพร่หลาย สังเกตว่า ใช้อยู่ในพื้นที่ที่ไม่ค่อยติดต่อกับที่อื่น หรือไม่ได้มีอิทธิพลกับวัฒนธรรมอื่นมากเทาไหร่ อย่างเช่นพม่า
@pauleagle6281
@pauleagle6281 2 жыл бұрын
@@hilatchikkakul8980 เริ่องติดต่อกับจีนทางบกเรียก ชา/ไช ทางน้ำเรียกเรียก เต้ ผมคิดว่าน่าจะใช้ในกรณีที่นั้นห่างไกลจากจีน เช่น ยุโรป อาหรับ แต่ก็มีข้อยกเว้น เช่น โปรตุเกส เรียก ชา ไทย และ ฟิลิปปินส์ ซึ่งติดต่อกับจีนทางน้ำเรียก "ชา" ญี่ปุ่นก็เหมือนกัน ดูย่านนี้ ไทยเรียก ชา เวียตนามเรียก ชา แต่เขมร เรียก เต (ไทยไม่ได้ตามเขมร) เห็นด้วยกับที่เขียนว่า เริ่มแยก เป็น 2 สาย คือ ชา กับ เต้ (และสาย"ชา" แยกย่อยเป็น ชา กับ ไช)
@hilatchikkakul8980
@hilatchikkakul8980 2 жыл бұрын
@@pauleagle6281 อืม ครับ แต่รู้สึกไทยทางใต้ก็เรียก เต จีนทางใต้ที่ออกทะเล ก็มักจะมีฮกเกี้ยน แต้จิ๋ว กวางตุ้ง แคะ ไหหลำ กวางตุ้ง กับ แคะ จะใช้ ชา (เหมือนจีนทางเหนือที่น่าจะใช้ ชา) ฮกเกี้ยน แต้จิ๋ว ใช้ แต เต ส่วนไหหลำผมไม่แน่ใจ พวกที่ติดต่อทางทะเล แล้วใช้ ชา ก็อาจจะมาจากพวกกวางตุ้ง กับ แคะ ก็ได้มั้งครับ ส่วนคำว่า ลา อาจจะเป็นคำโบราณกว่า ชา และ เต ที่ใช้แถบจีนใต้ พม่า ภาคเหนือของไทย มาเป็นพันๆปีแล้วมั้ง ตามข้อสันนิษฐานที่เคยมีคนเขียนไว้
@pauleagle6281
@pauleagle6281 2 жыл бұрын
@@hilatchikkakul8980 เห็นด้วยกับที่ว่าคำว่า ลา (แปลว่าใบไม้) น่าจะเป็นคำต้นกำเนิดตัวจริง แถบยูนานและที่ใกล้เคียงมีวัฒนธรรมและภาษาของตัวเอง จีนยังมาไม่ถึง พอติดต่อกับจีน จีนฟังคำว่าลา แล้วเขียนเป็นอักษรภาษาจีน คนจีนแต่ละภาคอ่านตัวอักษรได้ความหมายเดียวกันแต่ออกเสียงต่างกัน คนจีนภาคกลางภาคเหนือออกเสียง "ชา" คนจีนแถวฮกเกียน ซัวเถา ออกเสียง "เต้" ตอนหลังใครที่ติดต่อกับจีนภาคไหนก็รับการออกเสียงตามจีนภาคนั้นไป
@0LittleChild0
@0LittleChild0 2 жыл бұрын
สายไหม ไม่ใช่ สายใหม ใกล้ ไม่ใช่ ไกล้ ไหน ไม่ใช่ ใหน
@user-hy4fn1ir4e
@user-hy4fn1ir4e 2 жыл бұрын
เสียงคล้ายกับ ช่องอัลดุลไททูป นุ่มละมุน น่าฟัง
@kanomkitchen3348
@kanomkitchen3348 Жыл бұрын
เป็นบุญ มากๆ ที่อายุ 67 ได้รับรู้ สิ่งดีดี ป้าอยู่ยุโรป แต่ป้าก็ยังคงดื่มชา ของจีน ร้านค้า ของคนจีน เขาก็เอาชาจีนมาขาย 😀ชาอังกฤษ ที่ขายๆ กล่องสวยงาม จริงๆ ใบชา มาจากเอเซีย ทั้งนั้น😀
@user-ns5iq4jk5s
@user-ns5iq4jk5s 2 жыл бұрын
สำเนียง การเล่าเรื่องเหมือนกับอาจารย์ท่านหนึ่งชาวสุพรรณบุรี คือท่าน ดร. สมเกียรติ อ่อนวิมล ครับ พังแล้วเพราะมาก ฟังไม่เบื่อเลยครับ
@bugbunnysnowchannel532
@bugbunnysnowchannel532 2 жыл бұрын
โดยส่วนตัวกินเมี่ยงมาตั้งแต่เด็กแล้วค่ะ เพราะปู่กะย่าชอบมาก แต่ไม่เคยรู้ว่ามันทำมาจากใบชาป่าอัสสัม ย่าจะบอกว่าอย่าทานเยอะเพราะจะนอนไม่หลับ คิดว่าคงจะมีคาเฟอีนเยอะพอๆกับกาแฟอะค่ะ ตอนนี้ไม่ได้ทานมาหลายปีแล้ว พอขึ้นเหนือทีถึงจะได้ทานทีนึง ใส่เกลือใส่ขิงเปรี้ยวหวานฝาดขมครบรส😋😁 ขอบคุณสำหรับสารคดีนะคะที่ทำให้รู้ว่าสิ่งที่เราทานมาจากไหน
@user-rx2ln3vk6s
@user-rx2ln3vk6s 2 жыл бұрын
ผมอยู่เชียงใหม่ กินเมี่ยงตั้งแต่เด็ก ซื้อที่กาดหลวง ที่รอบนอกก็มีที่ สันทรายดอยสะเก็ดแม่ริมแม่แตง...คนที่ฟันไม่ดีฝัฟันจะเป็นแมง ต้องซื้อฟลูออไรด์เม็ดมากินครับ ฟันถึงจะกลับมาแข็งแบบคนปกติ
@jjchayapong6942
@jjchayapong6942 2 жыл бұрын
ดีจังเลย ยังสามารถหาต้นชาอายุเก่าแก่เป็นพันพันปีได้ ของไทยต้นไม่อายุหลักสิบปีก็ไม่เหลือแล้ว
@user-xo3hs4mf7h
@user-xo3hs4mf7h 2 жыл бұрын
ทางภาคเหนือเอามาหมักลงในไหและรับประทานใบ เรียกว่า กินเหมี้ยง ส่วนใบสดนิยมนำมารับประทานเป็นผักแกล้มแกงหน่อไม้ หรือจิ้มกับน้ำพริก เป็นต้น
@thailovecanada3835
@thailovecanada3835 2 жыл бұрын
ชอบดูประวัติศาสตร์นอกตำรามากค่ะ เรียบเรียงเนื้อเรื่องและนำเสนอภาพเนื้อได้ดีแล้วเข้าใจง่ายอีกด้วย ได้ความรู้มากๆ ขอบคุณที่นำเสนอเรื่องราวดีๆทางประวัติศาสตร์ ติดตามชมและเป็นกำลังใจให้ผลิตรายการดีๆแบบนี้ออกมาเรื่อยๆนะคะ
@bell4854
@bell4854 2 жыл бұрын
รักนะเทอ
@KASETBAOBAO
@KASETBAOBAO 2 жыл бұрын
ช่องนี้ สุดจริงครับ ขอบคุณความรู้ดีๆเพื่อนคนไทย
@phoungmychi3777
@phoungmychi3777 2 жыл бұрын
ทีมงานสารคดีทุ่มเทกันมากๆเลยครับผม คุณภาพมุมกล้องความคมชัดเสียงบรรยายดนตรีประกอบเพลงประกอบสารคดีถือว่าสุดยอดมากพอๆกับของ ต่างประเทศเลยหล่ะครับ อย่าหยุดทำ สารคดีประวัติศาสตร์นอกตำรานะครับ เป็นกำลังใจให้ครับสู้ๆต่อไปนะครับผม ถ้าไม่ทำอีกผมคงรู้สึกแย่แน่ๆ
@bell4854
@bell4854 2 жыл бұрын
รักนะเทอ
@ricardopok9895
@ricardopok9895 2 жыл бұрын
หัวข้อ​ การนำเสนอ​ ตัดต่อ​ บรรยาย​ ให้10/10เลยครับ
@user-rx2ln3vk6s
@user-rx2ln3vk6s 2 жыл бұрын
ถ้าคะแนนเต็ม100ผมให้ 101 คะแนนครับ
@phumistan7855
@phumistan7855 2 жыл бұрын
มองประวัติศาสตร์ผ่านใบชา รายการที่มีคุณภาพจริงๆเป็นกำลังใจให้ทีมงานทุกๆท่านครับ
@windeejai6849
@windeejai6849 2 жыл бұрын
สุดยอดครับงดงามทั้งภาพและเนื้อหา
@user-xj3sz5bl8d
@user-xj3sz5bl8d 2 жыл бұрын
ขอบคุณทางรายการมากเลยครับ.ที่ไห้รู้ในเรื่องราวต่างและที่มาที่ไปครับ..เมื่อครั้งในยุคเก่าๆครับ..
@supachaijhan9219
@supachaijhan9219 2 жыл бұрын
ชอบรายการนี้มากๆครับๆ ดูแล้วได้ความรู้ รู้ประวัติศาสตร์ต่างๆ ย้อนกลับไปดูเกือบทุกคลิปครับ ขอชื่นชมทีมงานและเป็นกำลังใจในการทำคลิปดีๆต่อไป มีผู้ติดตามถึงล้านไวๆนะครับ
@manotes8872
@manotes8872 11 ай бұрын
ชอบการนำเสนอมากครับ หลังจากดูไทยกับเขมรเครม และการเมืองไทย😂😂 พอดูชองนี้ ติดเลยครับ เพลินดี ได้ความรู้❤❤
@kanasakthongsak1310
@kanasakthongsak1310 10 ай бұрын
สารคดี​เชิงวิชาการ​เชิงประวัติศาสตร์​ และวัฒนธรรมในอดีตปัจจุบัน​นี้บางวัฒนธรรม​เหลือเพียง​รอยอดีต​ทั้งบันทึก​และวัสดุ​ต่าง​ๆ​ ต้องใช้เว​ลาและการเดินเพื่อไปตรวจสอบ​ร่องรอย​ของ​อดีต​ต้องทุ่มเททั้งเวลาเพื่อศึกษา​ความถูกต้อง​และความร่วมมือ​จากหลาย​ฝ่าย​ ต้องใช้เว​ลา​และกำลัง​ทรัพย์​เพื่อนำรอยอดีต​มาเปิดเผย​
@oreo4685
@oreo4685 2 жыл бұрын
ชอบดูรายการนี้ครับ ได้ความรู้ ได้เห็นวัฒนธรรมต่างประเทศ และชอบเสียงผู้บรรยาย ฟังเพลินมากครับ
@user-xo3hs4mf7h
@user-xo3hs4mf7h 2 жыл бұрын
เมืองลาอยู่ในเขตรัฐฉานทางตอนเหนือของพม่า เรียกว่า เขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองลา
@storyphone1472
@storyphone1472 2 жыл бұрын
ความรู้ที่ดีๆ มาแล้ว ได้ความรู้มากมาย ขอบคุณทีมงานมากๆๆๆคับ
@paitoonbaothong344
@paitoonbaothong344 2 жыл бұрын
ติดตามตลอดครับชอบมากโดยเฉพาะถ้าบรรยายโดยคุณอดิศักดิ์
@user-ux9dz1yn6n
@user-ux9dz1yn6n 2 жыл бұрын
ตอนนี้ปักษ์ใต้บ้านเรา ก็เริ่มผลิตเเละบริโภคน้ำกระท่อม เหมือนจีนบริโภคชา ถ้านึกถึง "ชา" ต้องนึกถึง จีน ถ้านึกถึง "น้ำท่อม" ต้องนึกถึงปักษ์ใต้บ้านเรา
@Leo.Lee-Leo
@Leo.Lee-Leo 2 жыл бұрын
นอกตำราจริงๆ สุดยอด
@chanchayanutkajai2087
@chanchayanutkajai2087 2 жыл бұрын
สวัสดี คะ ขอบคุณ สพหรับข้อมูลดีๆ ชา มีมากมาย หลายรูปแบบ และ มีในหลายประเทศ..ที่ชอบดี่มชา...🌿☕ ส่วนตัว ชอบ ดี่มชา จากอินเดีย คะ..☕😊
@manut-cb4rm
@manut-cb4rm 2 жыл бұрын
ผมก้อชอบคับผมดื่มชาไทย
@SurapholKruasuwan
@SurapholKruasuwan 2 жыл бұрын
ชา กาแฟ ยางพารา ข้าวโพด มันฝรั่ง มะเขือเทศ คือ พืชเปลี่ยน วัฒนธรรมโลก ขอบคุณข้อมูล และการนำเสนอ สมหวังในสิ่งประเสริฐ
@Chyp6416
@Chyp6416 2 жыл бұрын
รายการในดวงใจมาแล้ว
@mountainpeople1075
@mountainpeople1075 23 күн бұрын
เสียงผู้บรรยาจะกลายเป็นอัตลักษณ์จะเป็นตำนาน..เยี่ยมมากครับ
@user-it9mt5cm3u
@user-it9mt5cm3u 2 жыл бұрын
สมัยก่อนบรรพบุรุษของผมก็ค้าเมี้ยงครับ เป็นชาอัสสัม ปลูกในป่า
@realsoulz69
@realsoulz69 2 жыл бұрын
เป็นเรื่องราวที่ดี เปิดโลกให้กลับผมมากๆ🙏😮
@MrGreenozone
@MrGreenozone 2 жыл бұрын
ชื่นชมความใจกว้างทางวิชาการของอาจารย์เหอ ซื่อหัวมากครับท่านเป็นนักวิชาการที่สุดยอดยินดีให้ความรู้แก่เกษตรกรไทยการการผลิตชาให้มีคุณภาพ ไม่รู้ว่าจะมีการสานต่อ เรื่องนี้อย่างไร
@tiptip51
@tiptip51 2 жыл бұрын
รักรายการนี้มากค่ะ
@user-qr7yr9yv4f
@user-qr7yr9yv4f 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ
@AtasakNantasomboon
@AtasakNantasomboon 2 жыл бұрын
ขอขอบคุณทีมงานทุกท่านและขอให้ทีมงานทุกท่านมีสุขภาพที่แข็งแรงจะได้ผลิตงานดีๆออกมาเรื่อยๆครับ😊 งานดีมีคุณภาพอีกแล้วครับท่านนนน😁
@hotsquidyami9073
@hotsquidyami9073 2 жыл бұрын
ความรู้ สาระล้วนๆ ชอบมาก 👍
@swe8396
@swe8396 2 жыл бұрын
ดูแล้วได้ความรู้เกี่ยวกับชา ขอบคุณมากที่ถ่ายทอดเรื่องราวดีฯ สุดยอด ล้านซับเร็วน่ะ😘😘😘👍👍👍👍💚💚💚💚
@dillonlek
@dillonlek 2 жыл бұрын
ผลิตเนื้อหาได้สุดยอดมากครับทั้งศาสตร์และศิลป์ขอคารวะด้วยความเคารพ
@bobbydaoyret3218
@bobbydaoyret3218 2 жыл бұрын
รู้สึกเหนื่อยแทนผู้บรรยายกว่าจะได้แต่ละคลิปข้อมูลแน่นมาก ขอบคุณ🙏🙏
@fatherant280
@fatherant280 2 жыл бұрын
เป็นอีกหนึ่งเรื่องราวที่ชอบมากครับ .. ฟังแล้วอยากลองชิมชาผู่เอ๋อร์ เลยครับ
@amnatmuthaporn738
@amnatmuthaporn738 10 ай бұрын
ช่องที่ทรงคุณค่าแบบนี้ ผมยอมใจคนที่ไม่กดไลค์
@bunjobmoon4312
@bunjobmoon4312 2 жыл бұрын
น่าเสียดายเป็นอย่างยิ่งสมัยปู่ย่าเคยมีไร่เมี้ยงชาป่าที่ขึ้นเองตามธรรมชาติทางเหนือเขาเรียกป่าเมื้ยงปีหนึ่งจะเข้าไปเก็บสักครั้งนำมามักดอกทำเป็นเมี้ยงยุคสมัยเปลื่ยนไปถูกล้มป่าเมี้ยงมาเป็นไร่ข้าวโพดไปหมดแล้วที่ว่ามานี้ยังไม่นานนะครับผ่านมาน่าจะ40ปีนี่เองสมัยผมเป็นเด็กๆยังจำได้ปู่ย่าตายายยังเข้าป่าไปเก็บใบชามาทำเมี้ยงพื้นที่เขาที่จังหวัดพะเยา
@watanachaidindee1702
@watanachaidindee1702 11 ай бұрын
😊😊 31:34 31:34
@watanachaidindee1702
@watanachaidindee1702 11 ай бұрын
32:08 32:09
@datadoghunna5445
@datadoghunna5445 2 жыл бұрын
รายการที่ดีมากครับ ได้ความรู้แน่นๆเลยครับ❤❤❤
@maiximumza
@maiximumza 2 жыл бұрын
กาลเวลา สร้างคุณค่าให้วัฒนธรรม ให้มันงดงามมากยิ่งขึ้นจริงๆ แม้ว่า การเดินทาง จะมีทั้ง สงคราม การเสียเปรียบการค้า แต่พอวันเวลาผ่านมา ก็ได้สั่งสม จนมันงดงามมากยิ่งขึ้นจริงๆ
@user-on2on4ze4g
@user-on2on4ze4g 2 жыл бұрын
ทานอยู่ และ ถวายพระ คะ ชา สวัสดีค่ะพี่แอดมิน
@supakitmuenkan8430
@supakitmuenkan8430 Жыл бұрын
เมี้ยงคือการนำยอดใบชาสดมาหนึ้งผ่านความร้อนให้สุกแล้วจึ่งมาหมักต่อ เมี้ยงมีทั้งเมี้ยงฝาด และเมี้ยงส้ม ขึ้นอยู่กับเวลาที่หมัก
@DPST26
@DPST26 2 жыл бұрын
ชอบเสียงบรรยายมากค่ะ ขอบคุณที่ได้ฟังค่ะ
@speedpostnana9060
@speedpostnana9060 2 жыл бұрын
ชอบดู คลิปเรื่องเล่าเก่าๆ
@rattikranseenasung7990
@rattikranseenasung7990 2 жыл бұрын
ใบเมี่ยง ทางเหนือกันน่าจะเกือบหลายร้อยปีแล้ว
@Toey_ja
@Toey_ja 2 жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ สารคดีสนุก บรรยายน่าฟัง รูปสวยน่าดูค่ะ ถ้าไปเที่ยวเชียงรายต้องหาชิมชาหลายๆ แบบแล้วค่ะ ตอนนี้รู้จักแต่ชาในฉุนฟง และสิงห์ปาร์คค่ะ
@user-df9tr6fq4z
@user-df9tr6fq4z 2 жыл бұрын
ชาสำคัญมากในจีนแต่ญี่ปุ่นสมัยมูโรมาชิ(พ.ศ.1876-2116)นั้นญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลการดื่มชาจึงทำให้เกิดการดื่มชาเขียวขึ้นในญี่ปุ่นตามแบบวิธีพุทธเซนซึ่งสมัยนี้ถื้อว่าเป็นยุคแรกที่โชกุนญี่ปุ่นได้ถวายจิ้มกองแด่องค์จักรพรรดิจีนเมื่อปีพ.ศ.1948จึงนำการชงชามาเป็นชาของตนเองคือชาเขียวผมค้นประวัติของโชกุนอาชิคางะ โยชิมิสึ (ครองตำแหน่ง1911-1937)ผมเลยว่าเกี่ยวกับชาด้วยครับเลยมานำเสนอขอบคุณครับผม
@hilatchikkakul8980
@hilatchikkakul8980 2 жыл бұрын
ชาเข้าไปในญี่ปุ่นตั้งแต่อย่างน้อยสมัยราชวงศ์ซ่ง (พ.ศ. 1503 - 1822) แล้วแหละครับ โดยพระที่มาศึกษาพุทธในจีน นำกลับไป แต่ช่วงแรกก็ยังใช้จำกัดอยู่ในวงพระเพื่อช่วยให้ตื่นในการทำสมาธิ และถือเป็นเครื่องดื่มชั้นสูง ราคาแพง แล้วก็เริ่มแพร่ไปในหมู่ชนชั้นสูง จำกัดอยู่ในวงชั้นสูงนี้นานหลายร้อยปี ชาสมัยราชวงศ์ซ่ง มีความคล้ายกับชามัทฉะแบบผงอยู่มาก คือ นำชาอัดแท่งมาบดเป็นผง (ชามัทฉะปัจจุบันนำใบที่เก็บมาอบ และบดเลย ต่างกันหน่อย) แล้ววิธีชง ก็คือ ใช้ตะกร้อไผ่ที่เห็นเป็นซี่ๆ มาตีเป็นฟอง แล้วดื่มทั้งอย่างนั้น มีการแข่งขันชงชาสมัยซ่ง มีกฎเกณฑ์ว่า แบบไหนดี เช่น ฟองใครอยู่นานที่สุด ก่อนจะเห็นน้ำ หรือฟองใครขาวกว่ากัน ซึ่งบางอย่างก็บ่งบอกถึงคุณภาพชา เวลาที่เก็บชาได้เช่นกัน เป็นต้น เครื่องมือชงชาสมัยซ่ง ก็ถูกนำเข้ามาในญี่ปุ่นเช่นกัน และยังมีใช้จนปัจจุบัน เช่น ตะกร้อตีชา ถ้วยชงที่เป็นเครื่องเคลือบดำ ที่เรียกว่าเจี้ยนจ่าน หรือในญี่ปุ่นจะเรียกว่าเท็นมุกุ (อ่านเป็นมาภาษาจีนกลางว่า เทียนมู่) รู้สึกจะเป็นชื่อของพื้นที่ที่หนึ่งในญี่ปุ่นที่เริ่มนำเข้าถ้วยแบบนี้ และไม่แน่ใจว่าต่อมาผลิตเองด้วยหรือเปล่า ในช่วงแรกที่นำเข้ามาในญี่ปุ่น เข้าใจว่า ก็ไม่ได้มีพิธีรีตองอะไรอย่างพิธีชงชาญี่ปุ่นที่เห็นปัจจุบัน แต่เน้นความเป็นเครื่องดื่มแสดงสถานะทางสังคม เป็นของหรูหราราคาแพง คงมีการชง และค่านิยมคล้ายๆกับในราชวงศ์ซ่ง ต่อมาอีกหลายร้อยปี ในสมัยที่ญี่ปุ่นแตกแยก รบกันมากมาย (สมัยเซ็นโงกุ) พวกนักรบเริ่มแสวงหาห้วงเวลาที่มีความสงบ ซึ่งก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดพิธีการชงชาแบบปัจจุบันขึ้นมา โดยนำเอาแนวคิดพุทธเซ็นเข้ามาผสม เพื่อใช้งานความสงบนี้ การดื่มชาเพื่อความหรูหรา ในงานรื่นเริงแบบสมัยก่อน ก็ลดลงและหายไปจากญี่ปุ่น (สำหรับชาแบบผงที่นำมาจากสมัยซ่ง) ส่วนชาแบบใช้ทั้งใบชงเลย ก็เข้ามาในญี่ปุ่นเช่นกัน แต่ไม่ได้มีพิธีรีตองเหมือนชาแบบผง เน้นการดื่มทั่วๆไป เน้นที่รสชาติมากกว่า ซึ่งมีราคาถูกกว่า เข้าถึงได้ง่ายกว่าชาแบบผง เพราะกระบวนการผลิตซับซ้อนน้อยกว่า ปล. สังเกตว่าทางฝั่งเหนือๆของจีน จะบริโภคชาเขียวกันเป็นส่วนใหญ่ สมัยโบราณก็มีชาเขียวเป็นส่วนใหญ่เช่นกัน จึงอาจจะเป็นอิทธิพลให้ทางญี่ปุ่นที่รับไปนั้น ส่วนมากเป็นชาเขียว จะว่าไปแล้ว จีนปัจจุบัน ก็มีสัดส่วนของชาเขียวมากกว่าชาแบบอื่นเช่นกัน
@Waris_nae
@Waris_nae 2 жыл бұрын
ทำเรื่องที่มีสาระแบบนี้ต่อๆไปนะคะ ชอบการบรรยาย เสียง มันลงตัวทุกอย่างค่ะ นอนฟังยังหลับเลย
@wikothai8120
@wikothai8120 2 жыл бұрын
บ้านผมที่พะเยายังมีป่าเมี่ยงอยู่นะครับ แต่ละต้นสูงท่วมหัวหมด ทวดผมยังเคยมีสวนเมี่ยง
@chaloemphonchaichumtem7508
@chaloemphonchaichumtem7508 2 жыл бұрын
เป็นกำลังใจให้ทีมงานทุกท่าน ในการทำสารคดีคุณภาพแบบนี้มาให้ชม
@user-co6no7tq6i
@user-co6no7tq6i 2 жыл бұрын
ขอบคุณมากครับที่ให้ความรู้มาโดยตลอด.ติดตามครับ
@nirunonprom7035
@nirunonprom7035 2 жыл бұрын
ขอบพระคุณผู้จัดทำรายการทุกท่านมากๆครับ.. ที่สืบค้นความรู้ข้อมูลในทุกๆเรื่องที่นำเสนอ...
@2ltpemmeganan647
@2ltpemmeganan647 2 жыл бұрын
ชาในวัฒนธรรมจีน นิยมชงกินน้ำ ล้านนาเอามาหมักเคี้ยว แสดงว่าวัฒนธรรมนี้ ได้รับมาจากจีนใช่ไหมค่ะ จะเข้ามาในล้านนายุคไหนสมัยไหน ไม่มีเอกสารโบราณ รองรับ เป็นประวัติศาสตร์ในฉบับ มุขปาฐ ใช่ไหม ค่ะ
@suchatsinntateeyagorn505
@suchatsinntateeyagorn505 2 жыл бұрын
ขอบคุณ ข้อมูล ดีดี
@user-ej7je6tx2r
@user-ej7je6tx2r 2 жыл бұрын
ชอบรายการนี้มาก
@user-do9tx1mo4q
@user-do9tx1mo4q 2 жыл бұрын
รายการดีจริงๆครับทำละเอียดมาก
@user-xi1yn9wv9e
@user-xi1yn9wv9e 2 жыл бұрын
มีความรู้มากครับ ขอบคุณมากๆ ติดตามตลอดครับ🙏🏻🙏🏻
@sompanbutdiam2386
@sompanbutdiam2386 2 жыл бұрын
ได้ความรู้เรื่องราวในประวัติศาสนต์ที่ไม่มีในตำราเรียน เข้าใจถึงแก่นแท้มีคุณค่าต่อคนรุ่นหลังมากๆเลยครับ(อยากให้ทำประวัติฯเกี่ยวกับทางภาคใต้บ้างครับ)ว่าต้นกำเนิดมีมายังไงในเรื่องราวการเดินทางว่าผู้คนมาจากที่ไหนกันบ้างถ้าเป็นไปได้ผมจะรอดูน่ะครับพี่
ย้อนอดีตสยาม ผ่านใบชา  I ประวัติศาสตร์นอกตำรา EP.202
43:26
ประวัติศาสตร์ นอกตํารา
Рет қаралды 98 М.
Когда на улице Маябрь 😈 #марьяна #шортс
00:17
КАХА и Джин 2
00:36
К-Media
Рет қаралды 4 МЛН
Bro be careful where you drop the ball  #learnfromkhaby  #comedy
00:19
Khaby. Lame
Рет қаралды 42 МЛН
Eccentric clown jack #short #angel #clown
00:33
Super Beauty team
Рет қаралды 22 МЛН
Когда на улице Маябрь 😈 #марьяна #шортс
00:17