รถยนต์ไฟฟ้าที่ชาร์จไฟได้เอง(ทำไมไม่มีใครทำ)

  Рет қаралды 82,657

SomchaiDIY

SomchaiDIY

5 ай бұрын

ตอบคำถามว่าเพราะอะไรจึงไม่สามารถติดไดชาร์จ เมื่อรถวิ่งก็ผลิตไฟออกมาชาร์จแบตเตอรี่รถไฟฟ้า
ถ้าไฟที่ได้มีไม่พอก็เพียงแค่ใช้เฟืองทดรอบให้เจนเนอร์เรเตอร์หมุนเร็วขึ้นทำไมไม่ทำ เรื่องง่ายๆแค่นี้
เช็คข้อมูลสินค้าผู้สนับสนุนได้ที่ www.zircon.co.th
โทร 082 703-7777

Пікірлер: 303
@rungsakthongmuk8538
@rungsakthongmuk8538 5 ай бұрын
คนที่เคยสงสัยเรื่องนี้ อย่าดูตอนดึกนะครับ เพราะท่านจะนอนไม่หลับ อันเนื่องมาจาก ตาสว่าง 😉
@user-rm3kp2wq7w
@user-rm3kp2wq7w 4 ай бұрын
55
@infinitytreelokes1614
@infinitytreelokes1614 4 ай бұрын
อย่างชอบบบบ~
@pu7768
@pu7768 5 ай бұрын
1.ง่ายมาก กฏพลังงาน การเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้า เป็นจลน์ และจลน์ กลับเป็นไฟฟ้า มีแต่สูญเสีย(ขาดทุน) ไม่มีกำไร 2.การติดไดนาโมจะทำให้รถวิ่งได้ช้าลง(ต้องใช้แรงมากขึ้น) พลังงานในแบตที่ได้กลับมาจากไดนาโม จะน้อยกว่าพลังงานส่วนเกินที่ต้องเสียไปในการหมุนล้อให้ได้ความเร็วเท่าเดิม เพราะงั้น มีแต่ขาดทุน 3.วิธี่ที่ถูกคือ ไดนาโมทำงานตอนเบรค (ไม่ต้องเสียพลังงาน) แบบนี้เท่านั้นถึงกำไร และนี่ก็เป็นแบบเดียวกับที่รถ hybrid ทั่วไปใช้อยู่
@madeow8201
@madeow8201 4 ай бұрын
👍
@electricth9363
@electricth9363 4 ай бұрын
ตามรถไฟฟ้าของเทสล่า เวลาเบรคจะนำประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บแต่ก็ยังได้พลังกลับมาน้อยกว่าการชาร์จระดับ kw
@infinitylogic1164
@infinitylogic1164 4 ай бұрын
ถ้าใช้เป็น magnetic gear ก็คงจะไม่ต้องเสียพลังงานไปกับการเสียดสี
@changlueg
@changlueg 4 ай бұрын
รถไฟฟ้าปกติก็เป็นแบบนี้อยู่่แล้วครับ รีเจตอนเบรค ไม่ได้เอาพลังไปจับจานเบรคทิ้งไปเฉยๆ
@zealmanuzealmanu5250
@zealmanuzealmanu5250 4 ай бұрын
​@@infinitylogic1164มันไม่เสียจริงครับ แต่มันได้พลังงานกลับมาน้อยมากๆ แต่กลไกนี้ มันทำให้รถราคาแพงขึ้น และน้ำหนักมากขึ้น ครับ
@kyoza1911
@kyoza1911 5 ай бұрын
ทุกอย่างที่ใช้พลังงาน รวมถึงการขับเคลื่อน จะเสียพลังงานเสียเปล่าไปในรูปแบบความร้อนขณะถ่ายเทพลังงานเสมอ การเสียเปล่านี้เกิดขึ้นทุกที่ตลอดเวลา การสูญเสียพลังงานในรูปแบบความร้อนนี้ เรียกว่าเอนโทรปี ซึ่งต่อให้ระบบดีแค่ไหน เอนโทรปีไม่มีวันเป็นศูนย์ ทำให้การเก็บพลังงานกลับมาโดยมีค่าเอนโทรปีดึงเอาพลังงานไปเป็นความร้อนตลอดเวลา พลังงานที่เหลือให้เก็บกลับมา จะมีให้เก็บน้อยกว่าพลังงานที่ใช้ไปเสมอ รถไฟฟ้าต้องวิ่งต้านอากาศ ความเสียดทานของผิวล้อกับพื้น ลูกปืนล้อ เปลี่ยนแรงขับให้เสียไปในรูปแบบความร้อน ไดที่ดึงพลังงานกลับ จะได้พลังงานต่ำกว่าที่มอเตอร์ขับเคลื่อนต้องใช้ ตลอดเวลา และจะเป็นแบบนี้เสมอไป คุณต้องทำให้ทั้งระบบรถและพื้นและอากาศรอบๆ มีเอนโทรปีเป็นศูนย์ ไดปั่นไฟกลับจึงจะได้พลังงานเท่าที่มอเตอร์ขับเคลื่อนใช้ไป ถ้ามีความร้อนเพิ่มที่จุดใดๆแม้เพียง 0.00001 องศา พลังงานจะหายไป ไม่เท่าเดิม
@patcharee2154
@patcharee2154 4 ай бұрын
ชค 6รรรร😅
@wichaitontisedpong2234
@wichaitontisedpong2234 4 ай бұрын
คลิปแบบนี้มีคนทำแล้วไม่เคยสำเร็จเพราะเขาลืมความจริงที่คุณพูดมาทั้งหมดเบื่อคลิปพวกนี้มากสร้างมาหลอกคนให้เข้าใจผิดว่าพลังงานได้มาฟรีๆ
@eerybuzzero9229
@eerybuzzero9229 2 ай бұрын
สนามแม่เหล็กคือพลังงานที่ให้ได้แบบไม่มีกลไกเคลื่อนไหวไม่มีแรงเสียดทาน ทั้งจากแม่เหล็กถาวรและสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวด ถ้าเข้าใจแบบมองทะลุ ก็จะลืมเรื่องการเปลี่ยนรูปพลังงานทันที ที่ทำให้เกิดการสูญเสีย เพราะแม่เหล็กถาวรให้พลังงานได้ต่อเนื่องโดยที่ไม่ต้องเติมพลังงานเพิ่ม จึงตอบโจทย์เรื่องพลังงานไฟฟ้าฟรีได้แบบไม่ขัด แย้งกฏใดใดทั้งสิ้น ส่วนตัวยังสงสัยและแปลกใจว่าไม่มีใครสัก คนที่แก้ปัญหาเรื่องนี้ได้ เพราะการปล่อยวางแทบทุกเรื่องแล้วก็ปั่นจักรยาน กว่า13 ปี เลิกใช้พลังงานจากฟอสซิล สวมวิญญาณ Nicola Tesla มาตลอดแล้วก็เห็นแสงสว่าง สานต่องานของ Nicola Tesla ได้อย่างเนียน รถไฟฟ้าไร้แบตเตอรี่ ไม่ไร้สาระ ใช้ generator อย่างเดียว ก็มากเกินพอ แต่มีกังหันลมที่คิดได้ก่อนหน้าจึงเพิ่มเข้าไปเพื่อความเท่ห์ ลดการทำงานของ generator กระจายไปให้หลายตัวลดความร้อนอีกทางหนึ่ง จบเรื่องพลังงานฟรี ที่ Nicola Tesla ถูกต่อต้าน ไม่ใช่แต่ใกล้เคียง
@CaptainDIY
@CaptainDIY 5 ай бұрын
ตามกฎของพลังงานครับ สุดยอดตามแบบฉบับของสมชาย DIY ครับ
@Hippie.420
@Hippie.420 5 ай бұрын
นี่คือการสาธิตทดลองอย่างเป็นรูปธรรม ไม่ใช่แค่เวิ่นเว้อทฤษฎีอะไรวุ่นวาย แบบนี้น่าดูมากครับ 👍🏻
@somchaidiy5663
@somchaidiy5663 5 ай бұрын
ขอบคุณมากครับ
@ftcfg4052
@ftcfg4052 4 ай бұрын
​@@somchaidiy5663ทำไมไม่ปั่นไฟส่งงไปมอเตอร์เพื่อเพิ่มกระแสไฟฟ้าให้เข้าไปมอเตอร์เพื่อลดการกินไฟจากแบตเตอร์รี่ ผมยกตัวอย่าง รถยนต์ไฟฟ้าหนึ่งคัน มีไดปั่นไฟหนึ่งตัว ตัดไว้หน้ารถเพื่อให้แรงลมเวลารถวิ่งโดยใช้ใบพัดจากแรงลมปั่นไปแล้วต่อไฟไปยังมอเตอร์เลยเพื่อลดการกินไฟจากแบตน้อยลง ไม่รู้ว่าแนวคิดนี้ใช่ได้ป่าวครับแอด หรือมันจะเกิดไฟไหม้ เพราะเวลาเร่งรถมันก็กินไฟเยอะขึ้นรถก็วิ่งเร็วขึ้นไดนาโมก็ปั่นไฟได้เยอะขึ้นจากแรงลมที่ติดหน้ารถ แล้วจ่ายไปไฟที่มอเตอร์เราก็ไม่ต้องเร่งคันเร่งเพื่อกินไฟจากแบตเตอรี่รถเยอะ แอดลองทำดูสิครับว่าเป็นไปได้มั้ย ผมว่าทำได้นะ
@user-wf9kb6uc6p
@user-wf9kb6uc6p 5 ай бұрын
ok การอธิบายสมาการนี้ให้เข้าใจ แถมยังโฆษณาของขายที่มีคุณภาพดีจริง ขอให้ให้ช่องนี้มียอดวิวสูงยิ่งๆขึ้นไปนะ
@KPgdhffgfgg
@KPgdhffgfgg 5 ай бұрын
ลุงสมชาย อธิบายชัดเจนน
@user-xl6os9fj3d
@user-xl6os9fj3d 2 ай бұрын
พูดให้ เข้าใจ มาก ขึ้น ครับผม ทีนี้ใครจะทำ อย่างไร ต่อยอด เอาเอง ใครทำได้ รวย รวย รวย ลูกเดียวเลยครับ แต่ต้องลงทุน หน่อย หลายๆๆๆ ล้านอยู่ ครับ
@opponut
@opponut 4 ай бұрын
เป็นเรื่อง​ที่ผมคิดมาตลอดครับแต่ยังขาดปัจจัย​หลักในการทดลอง​ขอบคุณ​คุณ​อาที่ทำให้เห็นภาพชัดเจน​
@pang-p
@pang-p 5 ай бұрын
ชัดเจนมาก หายข้องใจแล้วครับอาจาร์ย❤
@jantaboonjanpum8128
@jantaboonjanpum8128 4 ай бұрын
มีคนประเภทนี้ถามมาตลอดเลย ประเทศไทยมีคนไร้ความรู้วิทยาศาตรเทคโนโลยีมากจริงๆ สมแล้วที่สอบปิซ่าได้ที่โหล่แย่กว่าเขมรอีก
@user-ti2os4yv9y
@user-ti2os4yv9y 4 ай бұрын
ขอบคุณครับ ได้ความรู้มากเลยครับ
@bird-hatyai9900
@bird-hatyai9900 5 ай бұрын
👍👍👍 ขอบคุณข้อมูลที่นำเสนอคับพี่
@sanittang9797
@sanittang9797 5 ай бұрын
ถ้าใช้แบบการทำงานระบบคลัชคอมแอร์ คือใช้สัณญาณจากสวิตช์ไฟเบรค ทำให้หน้าคลัชจับไปขับgen. ซึ่งใช้พลังงานขับจากล้อขณะเหยีบยเบรค ซึ่งจะช่วยในการชลอควมเร็วลง เพราะมีโหลดไปใช้ขับgen.
@teemainaja
@teemainaja 4 ай бұрын
ก็ระบบรีเจนฯไงครับ มันมีอยู่แล้ว
@MrMoscs
@MrMoscs 4 ай бұрын
ขอบคุณสำหรับวิทยาทานครับ
@weerasakkampangart4117
@weerasakkampangart4117 5 ай бұрын
สมัยเด็กเคยมีชุดไฟที่ใช้ยางล้อจักรยานไปหมุนตัวผลิตไฟ แต่ปั่นแล้วหนืดหนักมาก ไฟก็ไม่สว่างเท่าใดครับครับ เข้าใจแล้ว
@kidboybay5603
@kidboybay5603 5 ай бұрын
กราบขอบคุณครับอาจารย์ สรุป -การเอาตัวปั่นไฟไปติดตั้งเพิ่มทำให้แรงเสียดทานเยอะขึ้น ส่งผลให้รถต้องใช้พลังงานมากขึ้น -พลังงานที่ปั่นไฟมาไม่เพียงพอที่จะชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่และการเพิ่มตัวชาร์จไฟทำให้รถมีนํ้าหนักมากขึ้น ส่งผลเสียทำให้รถต้องใช้ไฟฟ้ามากขึ้นสิ้นเปลืองกว่ารถที่ไม่มีระบบนี้ -ไฟที่ได้จากเครื่องปั่นไม่เพียงพอที่จะอัดประจุเข้าไปในแบตได้ ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า กำแพงแรงดันไฟฟ้า
@aeonthailand
@aeonthailand 5 ай бұрын
🐱
@mookoingc4789
@mookoingc4789 4 ай бұрын
ผมว่าบางทีเราอาจต้องรอให้เทคโนโลยีมันพัฒนาไปจนถึงขีดสุดของมันเราอาจได้เห็นปรากฎการที่เราอาจจะนึกไม่ถึงมาก่อนก็ได้ครับ😊
@nattosocial
@nattosocial 5 ай бұрын
ขอบคุณมากครับ😊
@Monster-bn6kh
@Monster-bn6kh 5 ай бұрын
โอเคครับเข้าใจแล้ว ครับอาจาร😊😊😊
@kasukaayumu4869
@kasukaayumu4869 5 ай бұрын
ใช่ครับ อาจารย์สมชาย ถ้ามันทำได้แบบนั้นจริง ผู้ผลิตรถไฟฟ้าทุกยี่ห้อคงทำออกมาใส่ไว้ในรถแล้วครับ
@sodapunpunnarai2336
@sodapunpunnarai2336 4 ай бұрын
ใช่ รถบังคับนี่หละ ต้นแบบรถไฟฟ้า อ่ะนะ พอติดปัญหา ก็กลายพันธุ์นิดหน่อยหละ เป็นหลักการที่จารย์บอกนี่หละ จะใช้ แรงเฉื่อยแทน ตอนท้ายผมชอบนะ ดึงเข้าโฆษณาแบบเนียนๆ เทพสุดๆ อ่ะ
@user-tx6se9vf5f
@user-tx6se9vf5f 4 ай бұрын
สุดยอดความรู้
@nazi1944
@nazi1944 5 ай бұрын
ได้ความรู้เพียบ
@jokeju9267
@jokeju9267 5 ай бұрын
ขอบคุณข้อมูลครับ
@boonsirirat5923
@boonsirirat5923 5 ай бұрын
ขอบคุณครับ❤
@terasidwanmai7289
@terasidwanmai7289 4 ай бұрын
มีหลายส่วน เสียย ผลประโยชน์ ครับ😊
@Crazykidsz
@Crazykidsz 5 ай бұрын
เรื่องแบบนี้ก็เหมือนความเชื่องมงายหลายอย่างของไทยครับ อธิบายดีแค่ไหนกับคนที่มันโดนปลูกฝั่งไปยันแกนสมอง มันก็ไม่เปิดใจ เพราะมันเชื่อว่าทำได้ไปซะแล้ว เหมือนขวดน้ำเพิ่มแรงดันเอย กาลักน้ำเอย ไม่ต่างกันเลย
@Protection_state
@Protection_state 5 ай бұрын
เป็นสิ่งที่ผมพยายามอธิบายให้ช่างคนหนึ่งฟัง แต่อธิบายยังไงก็ไม่ยอมเข้าใจ ยกทฤษฏีอะไรมาเถียงก็ไม่รู้มั่วไปหมด
@user-tc7ju9jl6u
@user-tc7ju9jl6u 5 ай бұрын
ปล่อยแก ให้แกทำใช้เลย
@ppkitppkit1865
@ppkitppkit1865 5 ай бұрын
คิดเหมือนกันครับ
@hassonjohn2431
@hassonjohn2431 4 ай бұрын
มีความรุ้ครับ🎉
@udomthongchang5483
@udomthongchang5483 3 ай бұрын
ตาสว่างเลย ขอบคุณครับ
@user-dw7qq7sh3e
@user-dw7qq7sh3e 5 ай бұрын
เยี่ยมมาก
@PatnarongHongmen
@PatnarongHongmen 5 ай бұрын
ชัดเจนครับ
@somchaidiy5663
@somchaidiy5663 5 ай бұрын
ขอบคุณครับ
@prinlp5483
@prinlp5483 4 ай бұрын
ขอบคุณครับพี่
@itums1
@itums1 5 ай бұрын
น่าสนใจมากครับ แม้ว่าชาร์ทไฟอาจจะทำให้รถเสียกำลังไปบ้าง แต่อาจจะเกี่ยวกับการแบบน้ำหนักรถที่มากขึ้นมั้งครับ
@mitnakab655
@mitnakab655 5 ай бұрын
ยอดเยี่ยม เลยยยยยยยยยครับ😂
@bnwifi
@bnwifi 4 ай бұрын
เมี่ยมไปเลยครับ
@petermcmail2691
@petermcmail2691 5 ай бұрын
เคยแต่ได้ยินกฎนี้ วันนี้ได้เห็นภาพของจริง ยังดีที่รถEVรู้จักเอาแรงเฉื่อยมาปั่นไฟคืน(ได้หน่อยก็ยังดี)
@sematoghem
@sematoghem 5 ай бұрын
ต่อสู้กับพวกจินตนาการสูงในเนตช่างลำบากยากเข็ญครับ...
@jessadamueankaew3729
@jessadamueankaew3729 4 ай бұрын
Thanks you 😊
@jessadamueankaew3729
@jessadamueankaew3729 4 ай бұрын
คำถามผมเองตั้งแต่เด็กสงสัยมานานนน
@user-pc5xj8ce2v
@user-pc5xj8ce2v 5 ай бұрын
สุดยอด
@ikatimz
@ikatimz 3 ай бұрын
การศึกษาเป็นสิ่งสำคัญ
@kewintaylor7056
@kewintaylor7056 5 ай бұрын
ถ้าปั่นตลอด มันเหมือน ไดชาร์จแหละ แต่ มันได้ไฟน้อยกว่ากำลังที่เสียไปไง😂 ถ้าเป็น รถยนต์ไฟฟ้า ถ้าเอามอเตอร์มาปั่นไฟ ตอนชลอหรือเบรก พอได้ แต่ มันจะหัวทิ่ม เห็นพวกรถใหม่ๆ เขาจะไม่ใช้การปั่นไฟคืน แต่จะชดเชยให้พลังกับมอเตอร์ตอนชลอ😂(ซะงั้น) เพื่อให้รถไหลไปได้แบบรถน้ำมันตอนชลอ เป็นเรื่องจองความสบายล้วนๆ จะมีปั่นไฟแค่ตอนเบรก😂(ซะงั้น)
@user-yq4rj9uk6r
@user-yq4rj9uk6r 4 ай бұрын
ไดปั่นไฟต้องมีคุณสมบัติสูงมากๆ จึงจะเพียงพอ น่าจะยังอยู่ในช่วงพัฒนาไดปั่นไฟ
@smorechat1
@smorechat1 5 ай бұрын
เคยมีคนศึกษาพลังงานหมุนกลับแบบนี้ แล้วมันเกิด Heat Loss แต่ก็ขอบคุณเจ้าของช่องครับที่ทดลองแล้วมาแบ่งปันให้ชม
@kokna2019
@kokna2019 5 ай бұрын
ถ้าใช้ไฟฟ้า อย่างเดียว มันไม่คุ้มที่จะทำครับ เพราะ การปั่นไฟ เพื่อมาชาร์จแบต ก็กินพลังงานเพิ่ม จากแบต ที่ หมุนมอเตร์ ขับเคลื่อนขับเคลื่อนครับ ทำให้เปลือง พลังงาน เฉยๆครับ ถ้าทำได้จริง วิศวะกร เขาทำออกมาแล้วครับ
@p.1966
@p.1966 5 ай бұрын
เชื่อว่าสักวันคงจะทำได้นะคับ.... จักรยานไฟฟ้าของ อ.คันนี้ ปัจจุบันเป็นไงบ้างคับ... ดูเหมือนจะเปลี่ยนเฟืองเป็น 13ฟันแล้ว... ของผมเปลี่ยนแล้ว บิดวิ่งเร็วขึ้นอีก + 9 KM/ชม. บิดสนุกขึ้นHapoy เลยคับ...👍👍👍👍👍
@user-wm1rh4yn3b
@user-wm1rh4yn3b 4 ай бұрын
แล้วเค้าจะหากินภาษีกันทางไหนล่ะครับ ถ้าทำรถแนวนี้ 😊😊😊😊เพราะภาษีน้ำมันมันหอมหวานเย้ายวนเกินที่จะทำอย่างอื่นได้ครับ
@admintony9857
@admintony9857 4 ай бұрын
วิศวกรนักทดลองของจริง👍
@user-qn3kv8du8x
@user-qn3kv8du8x 4 ай бұрын
ไม่ใส่แผงโช่ล่าเชลบนหลังคาได้มั้ย อจ.
@NarongchaiKHANHA
@NarongchaiKHANHA 5 ай бұрын
ง่าวป้ะ ฟิสิกสแล้วมันต้องสูญเสียพลังงานระหว่างทางอยู่แล้ว 😅 ...
@user-qc3wq6go4f
@user-qc3wq6go4f 4 ай бұрын
ถึงบางอ้อแล้วครับ😊
@suraphankongdaeng7473
@suraphankongdaeng7473 4 ай бұрын
ในนาฬิกาข้อมือ ปั่นไฟแบบใหนครับ ไม่ลองใช้การสั่นทะเทือน มาใช้ในการปั่นไฟกลับเข้าแบตดูละครับ
@shopssr-cy6mg
@shopssr-cy6mg 4 ай бұрын
เคยเห็นรถ ติดโซล่าเซลล์ ที่หลังคารถ แสดงว่าสามารถ ทำได้ครับ
@ionanee
@ionanee 5 ай бұрын
หลักการเหมือนคนกินข้าว ถ้ากินเยอะ ก็จะอยู่ได้นาน แต่ถ้ากินได้น้อย สักพักก็หิว
@user-wm2gj9lq3h
@user-wm2gj9lq3h 4 ай бұрын
เราจะทำการเหนี่ยวนำอิเล็กตรอนที่กระโดดข้ามขั้วแบตไปขณะใช้ไฟ กับมอเตอร์ ให้กลับมาขั้วเดิมด้วยวิธีการ ที่ทำนอกตัวรถ โดยไม่เกี่ยวกับตัวรถเลยได้ไหมเช่น ทำพื้นถนนหรือทำแบริเอ่อร์ข้างถนนให้มีอุปกรณ์เหนี่ยวนำสนามแม่เหล็กในตัวรถเพื่อชาร์จแบต ผมคิดว่ามันน่าจะสร้างได้แต่ลงทุนโครงสร้างถนนสูงเอาเรื่อง
@user-le7kg3lw5b
@user-le7kg3lw5b 4 ай бұрын
ผมคิดเช่นนี้มายาวนานครับ
@Lolilynpop
@Lolilynpop 3 ай бұрын
เจอเยอะมาก พวกง่าว พลังงานฟรี วิ่งยาวๆนิ ขอบคุณคลิป จะได้แปะลิ้งค์ เลิกง่าวกันซักที
@user-kd9ql3bs5x
@user-kd9ql3bs5x 4 ай бұрын
อาจารย์​ที่ภาคอิสานทำได้แล้ว​ ขับไป​ ปั่น​ไฟไป จดลิขสิทธิ์​แล้ว(ดูจากข่าวในทีวี)​
@user-ls3pm1vx1l
@user-ls3pm1vx1l 5 ай бұрын
คือมันมีการศูนย์เสียพลังงานเหมือนกัน และยิ่งจะทำให้แบตหมดใวด้วยครับ
@nuiaudi
@nuiaudi 5 ай бұрын
แนวคิดเดียวกับพลังงานฟรี หมุนเวียนกลับไปมา ซึ่งทำไม่ได้
@yuffybuttosai511
@yuffybuttosai511 4 ай бұрын
โอ้ยยยย ก็ทำช่องลมตรงดุลล้อแล้วใช้ใบพัดดักลมแยกเจนชาร์จจะไปยากอะไร ยิ่งเราขับเร็วเท่าไหรมันก็ชาร์จได้มากขึ้นเท่านั้น เหมาะสำหรัยขับทางไกล ไม่ต้องไปเกี่ยวกับระบบแรงขับเคลื่อน 😅😅😅
@eerybuzzero9229
@eerybuzzero9229 7 күн бұрын
ใช้กังหันลมติดตั้งใต้ฝากระโปรงรถแล้ว ใช้เทคนิคดึงลมผ่านกังหันลมตามหลัก aerodynamic ลดแรงต้านด้านหน้า เพราะไม่ติดตั้งกังหันไว้ด้านหน้า ปั่น generator ประสิทธิภาพสูง ก็จะได้พลังงานไฟฟ้าฟรีเมื่อรถวิ่ง จะนำไปชาจแบตเตอรี่หรือขับมอเตอร์ขับเคลื่อนล้อรถก็ได้ครับ
@swtl.3534
@swtl.3534 4 ай бұрын
เรียนฟิสิกส์ม.ปลายมาก็วิเคราะห์ได้แล้วครับ พวกไม่เชื่อยังคิดว่าทำได้ก็ปล่อยเขาไป ทดลองเอง
@user-dk8hp7le8w
@user-dk8hp7le8w 4 ай бұрын
แนะนำการพัฒนารีเจนเบรคกิ้งให้กลายเป็น รีเจนรันนิ่ง โดยให้มันทำได้ 100 %ครับ ต้องมองที่ระบบ RPM ของล้อรถให้เป็นปรโยชน์ครับ แล้วทำการ DIY จาก HUB MOTOR ให้กลายมาเป็น HUP GEN แทนโดยการเสริมแม่เหล็กถาวร (นีโอไดเมี่ยม )แล้วนำกระเเสที่ปั่นได้ทั้ง4ล้อเอามาลงแบตเตอรี่ แต่จะเป็นเเบตคนละตัวกับแบตหลักทื่ใช้ป้อนมอเตอร์ในการขับเคลื่อนนะครับ แต่จะเป็นแบตสำรองหรือแบตเตอรี่ชุดที่2สำหรับใช้ป้อนมอเตอร์รอบจัดเช่นมอเตอร์บัสเลสรอบสูงๆ1500-3000 Rpm เพื่อนำมาปั่นให้ตัวเจนเนอเรเตอร์รอบต่ำ 500-600 Rpm ทำงานผลิตกระเเสไฟฟ้า สำหรับผลิตให้ได้ 30-50 Kw โดยการใช้ระบบทดรอบเข้าช่วยก็ยิ่งดีครับจะทำให้มอเตอร์บัสเลสไม่ทำงานหนักมากไป แล้วนำกระเเสไฟที่ได้มาป้อนให้กับแบตเตอรี่หลักต่อไป ถ้ารถวิ่งได้เร็วล้อก็หมุนไวไฟก็เข้าแบตชุดสำรองหรือชุดที่2ได้เต็มไว ตามหลักการ รถไฟฟ้ายิ่งวิ่งก็ยิ่ง ไฟ ยิ่งใงไกลไฟยิ่งเต็มแบตเตอรี่ แต่ถ้าวิ่งในเมืองหลวงที่แออัดไปด้วยทั้งคนและรถ ไฟแดงก็เยอะ โอกาสทึ่จะทำให้มอเตอร์รอบจัดช่วยปั่นเจนฯคงจะต้องขึ้นอยู่กับความจุของแบตสำรองหรือแบตชุดที่2ว่ามากน้อยเพียงใด ดังนั้นเมื่อถึงบ้านก็คงต้องเสียบชาร์จรถอยู่ดี สรุปแล้วถ้าทำแบบที่ผมอธิบายหรือว่ามานั้นได้ รถไฟฟ้าก็จะกลับกลายเป็นรถที่เหมาะสำหรับใช้เดินทางไกล มากกว่าใช้ในเมือง ครับ ที่คิดแบบนี้ได้เพราะผมเคยทำงานอยู่ที่ การไฟฟ้าฯด้านตรวจสอบความมั่นคงของโรงไฟฟ้า จึงมีความเข้าใจว่า ไฟฟ้าจะเกิดได้ด้วย RPM ของเจนเนอเรเตอร์ ทำให้เกิดการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กเเล้วเกิดกระเเสไฟฟ้าขึ้นมา ใครบ้างที่เคยลองเปรียบเทึยบกันระหว่างรถไฟฟ้ากับโรงไฟฟ้าว่ามีความแตกต่างกันเช่นโรงไฟฟ้า อะไร รถEVมีอะไร แล้วทั้งคู่มีอะไรที่เหมือนกัน รองเปรียบเทียบดูก็ได้ครับ แล้วมันก็ส่มารถต่อยอดมาใช้กับการผลิตกระเเสไฟฟ้าบ้านก็ได้อีกด้วย หรือ ถ้าอยากจะคิดสร้างโรงไฟฟ้า( Power Plant ) ก็ย่อมได้ ดีกว่าการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยแผง PV หลายเท่าด้วยทุนที่เท่าๆกัน ดังนั้นขอสรุปได้ว่า RPM คือสิ่งสำคัญที่สุดครับ แม้แต่โลกหมุนรอบตัวเอง โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ กาเเลตซี่หมุนรอบตัวเองพร้อมกับเคลื่อนที่ไปด้วย ปรากฏการณ์ต่างๆล้วนมาจาก RPM. ครับ ว่าไปไกลเลยผม5555555
@hydelezz
@hydelezz 4 ай бұрын
เสียมากกว่าได้ less efficiency
@thianchaiboonprom7186
@thianchaiboonprom7186 3 ай бұрын
แม่เหล็กเกิดสนามแม่เหล็กเมื่อครบวงจร เกิดการสลับขัวจากแรงเสียดทานอาจต้องมีวงจรเพื่อแก้ไขการสลับของแม่เหล็กอาจช่วยได้ เหมือนระบบเกียทางเดียว
@user-ck4um4oj5k
@user-ck4um4oj5k 4 ай бұрын
ถ้ารถแบบนี้แล้วเขาจะขายพลังงานให้ละท่าน..เขาทำมาเพื่อจะขายเครื่องผลิตไฟให้รถอยู่แล้ว
@user-tc7kz8vt7f
@user-tc7kz8vt7f 5 ай бұрын
ุ้ถ้าเราแยกส่วนเป็นการชาร์จเข้าตัวสำรองไฟแบบการสะสมของระบบแก้มลิงแทนเมื่อกระแสตกนะเติมอัตโนมัติได้ไหมครับ.. เราไม่ทำแบบหมุนเวียนแต่แต่แยกส่วน...แบบนี้ได้ไหมครับ
@aikapun
@aikapun 5 ай бұрын
ถ้าง่ายขนาดนั้น เขาคงทำกันมานานแล้วครับ
@maxnumbm330
@maxnumbm330 4 ай бұрын
แปลงให้เป็น220แล้วเอาเครื่องชาตไฟไปติดเลยใช้แบต2ลูก ลูกแรกหมดก็สับมาใช้ลูก2 ให้ไฟไปชาตลูกแรกต่อ พอจะได้มั้ยคับ? 🤔🤔
@atomcom2492
@atomcom2492 5 ай бұрын
ถ้าเราทำช่องรับลมและรีดเอาลมขณะที่รถวิ่งอยู่มาขับใบพัดที่ติดกับgenerator จะได้ไหมครับอาจารย์😊
@rocknumber2
@rocknumber2 5 ай бұрын
สิ่งที่เกิดขึ้นคือรถจะต้องใช้พลังงานมากขึ้นเพราะแรงต้านที่เกิดจากการเอาลมมาปั่นไฟ มันเหมือนคุณใช้เบรคทำให้รถช้าลงอยู่ตลอดเวลา
@rockdiy
@rockdiy 5 ай бұрын
การทดลองนี้ อธิบายได้ด้วยกฎของลอเรนซ์ได้ด้วยครับ
@user-zd6cg8fe9u
@user-zd6cg8fe9u 19 күн бұрын
ตอนนี้มีผู้นำเข้ารถไฟฟ้ายี่ห้อหนึ่ง กล่าวว่ารถที่เขานำเข้าชาร์ทไฟครั้งเดียว วิ่งได้ตลอดโดยไฟไม่หมด เมื่อติดตั้งอุปกรณ์พิเศษเพิ่มเข้าไป
@bgtunerracingshop512
@bgtunerracingshop512 4 ай бұрын
ตามกฏของพลังงาน พลังงานที่ได้มาจากพลังงานที่เสียไป ไม่มีทางที่จะกลับมาเท่าเดิม
@nuttjira5281
@nuttjira5281 4 ай бұрын
ผมถามตัวเองมานานมากกแล้ว​ เพราะมีไดนาโมชาร์จ​แบต๑๒vได้ทำไมทำที่ชาร์จแบตลิเทียมใช้กับรถยนต์ไม่ได้​ หรือชาร์จไม่ทันไม่ได้มีความรู้อะไรน๊ะครับคิดแบบบ้านนเอาเอง
@บักเติบยางตลาด
@บักเติบยางตลาด 5 ай бұрын
คือคงมีคนทดลองแล้ว😅 คงเหมือนกับปั๊มหอยโข่ง ที่ดูดน้ำได้แค่ 8เมตร แต่ก็ยังมีคนพยามที่จะดูดน้ำให้ได้ลึกกว่า😅
@andisunkitanon5844
@andisunkitanon5844 5 ай бұрын
มันทำได้ครับ...แต่ผมไม่บอก...ฮุ๊บไว้คนเดียวเด้อๆๆๆๆ
@boronn888
@boronn888 2 ай бұрын
ทำได้ครับ ไม่ต้องชาจเพราะไม่ใช้แบตเตอรี่ ออกแบบ generator ใหม่หมด ไม่มีกลไกเคลื่อนไหวเลย
@somchaidiy5663
@somchaidiy5663 2 ай бұрын
เยี่ยมเลยครับ
@user-rh8lg1bq6y
@user-rh8lg1bq6y 5 ай бұрын
มันคงจะพัฒนาให้ดีขึ้นได้ แค่ว่า หาพลังงานอะไรก็ได้ที่ฟรีๆ จากรถ มาช่วยขับเคลื่อนให้เร็ว ให้ประหยัด
@fonvanlo
@fonvanlo 5 ай бұрын
ใช้คำว่า แค่ ไม่ได้หรอกครับ
@To_658
@To_658 5 ай бұрын
แทบจะไม่มีหรอกครับพลังงานฟรีๆในรถเอง แต่ถ้าจะมีก็คงจะไม่คุ้มค่าในการลงทุน เช่นนำความร้อนจากน้ำระบายความร้อนไปให้ความร้อนกับของเหลวที่มีจุดหลอมต่ำ แล้วนำไปหมุนกังหันเทอร์ไบน์ผลิตไฟฟ้า เหมือนหลักการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ คงจะประมาณนั้นครับ
@choengchaisomsri506
@choengchaisomsri506 4 ай бұрын
ด้านหน้ารถทำเป็นกล่องรับลม ต่อท่อมาหมุนพัดลมแบบหอยโข่งปั่นเจนชาร์ท วิ่ง 80-100 น่าจะปั่นเจนได้
@To_658
@To_658 4 ай бұрын
@@choengchaisomsri506 มันก็เข้าท่าดีนะ สมมุติ ได้พลังงานกับคืนมา 7% คิดว่าคุ้มค่ามั๊ยล่ะ...ที่เราต้องลงทุนติดตั้งอุปกรณ์...แถมต้องใช้พลังงานเพิ่มขึ้น 10% เพื่อสู้แรงต้านของลมให้ได้ความเร็วเท่าเดิม...ต้องเพิ่มขนาดความจุแบตเตอรี่อีกเพื่อให้ได้ระยะทางเท่าเดิม,น้ำหนักตัวรถก็หนักขึ้นกว่าเดิมใช้พลังงานมากกว่าเดิม...รวมๆแล้ว มีแต่ ลบ กับ ลบ
@asiabodykit694
@asiabodykit694 4 ай бұрын
มันไม่ได้ขัดกฎ มันทำได้แต่ไม่มีประโยชน์ เสียมากกว่าได้ เอาไดไปไส่คนทััวไปจะไม่รู้ว่าไดมันหน่วง ทำให้ได้ระยะทางน้อยลง แล้วไฟที่ได้มา เอาวิ่งได้ระยะทางน้อยลง
@barx1tv556
@barx1tv556 4 ай бұрын
ผมคิดเรื่องนี้เมื่อหลายปีที่แล้วว่าทำไมถึงไม่เอาไดชาจมาใส่ในรถ สิ่งที่สงสัยก็ได้รู้แล้ว 😂
@hamgamemer7527
@hamgamemer7527 4 ай бұрын
ผมอยากได้ความรู้ครับ รถไฟฟ้าทำยังไงให้กันน้ำได้ครับ เวลาฝนตกหรือลุยน้ำท่วม
@user-sc2qf7od3l
@user-sc2qf7od3l 4 ай бұрын
สิริโคลน อุดเอาสิตามขอบ ตามรู
@chakritbutraj7997
@chakritbutraj7997 5 ай бұрын
เหตุผลมีเรียนในฟิสิกส์มัธยม ใครทำแสดงว่าไม่เคยเรียนสายวิทย์
@pyuwa6241
@pyuwa6241 5 ай бұрын
เพราะมันก็เหมือนไปสร้างแรงเสียดทานเพิ่มครับ รถไฟฟ้าอุตส่าห์สร้างมาแบบลดแรงเสียดทานสุดๆ เทคโนโลยีแบบนี้นึกไปก็เหมือนติดหลอดไฟแบบปั่นไฟที่ติดตรงล้อหน้าในอดีต แต่ถ้าทำการทดลองแล้วแรงเสียดทานที่เพิ่มขึ้นทำให้พละกำลังลดลง พิจารณาแล้วปัจจุบันถึงมีการใช้เครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันมาทำการปั่นไฟเพิ่ม สรุปคำนวณแล้วจากหลายๆด้านไม่ทำเพราะให้พลังงานน้อยพอๆกับรถไฮบริด
@artart-lp9tl
@artart-lp9tl 5 ай бұрын
ชัดเจนคับ❤❤❤❤❤
@punthakornsophonadisai9157
@punthakornsophonadisai9157 4 ай бұрын
มีเนวคิดว่า ระบบรีเจนท์ ให้ทำงานตอนรถลงเขา หรือที่ลาดเอียงลง 25-35องศาเพราะ ประเทศไทยก็มีเขา และมีที่ลาดเอียง เยอะ โซนภาคเหนือ อะไร ประมาณนี้ โดยใช้เซนเซอร์ วัดระดับการลาดเอียงของรถ เพื่อ สั่งให้ระบบ รีเจนท์ ทำงาน ดีหรือไม่ ครับ
@user-ui8rm3uq9b
@user-ui8rm3uq9b 4 ай бұрын
นั่นสิครับ อาจจะเป็นเพราะว่าถ้าทำแล้วไม่สามารถทำรายได้ต่อก็ได้ครับ หมายถึงบริษัทพวกทำเครื่องชาจต่างๆพากันเจ๊ง
@user-vx4yw9lf8b
@user-vx4yw9lf8b 4 ай бұрын
ถ้า บริษัทไหน ประคิษฐ์ แก้ไข ดัดแปลง จุดอ่อน ข้อนี้ จนผลิตขึ้นมาได้ คงจะจดสิทธิบัติ ขายเพลินเลย รวยเละ
@teerasuwatsuwannasil3658
@teerasuwatsuwannasil3658 4 ай бұрын
ถ้าเราใช้กังหันลมปั่นไฟหรือแผ่นโซล่าเซลผลิตไฟฟ้าขณะรถวิ่ง พอจะเป็นไปได้ไหมคับ แล้วจะมีความคุ้มค่าไหมครับ
@nueverything7538
@nueverything7538 4 ай бұрын
เป็นการเพิ่มภาระให้รถครับ โซล่าเซลล์มันหนัก ทำให้ถ่วงรถเข้าไปอีก ทำให้ใช้แรงขับที่มากขึ้น เปลืองไฟโดยใช่เหตุ ต่อให้ใช้เป็นแผ่นบางๆติดตัวรถก็ไม่คุ้มไฟที่ได้กลับมา ขนาดติดที่บ้านยังต้องใช้หลายสิบแผ่นเลยถึงจะได้ไฟ 5 kw รถไฟฟ้าอย่างต่ำๆก็ต้องใช้ไฟ AC 7 kw ในการชาร์จขั้นต้น ยังใช้เวลา 7-8 ชั่วโมงในการชาร์จให้เต็ม
@thanajeawmalee8634
@thanajeawmalee8634 5 ай бұрын
กรณีone paddle จะเกิดแรงหน่วงเหมือนengine break (ลดระยะทาง)และได้พลังงานกลับมา หากเทียบกับไม่ปั่นไฟฟ้ากลับแต่ไรความฝืดแต่ได้ระยะเพิ่ม ในแง่พลังงานงาน อันไหนได้เปรียบกว่ากันครับ
@somjitra3733
@somjitra3733 5 ай бұрын
Regeneration การชาร์จไปกลับขณะเบรค หรือเรียกว่า Magnetic break เคยเห็นรถจักยานยนต์ไฟฟ้า แบบ Hub motor เขาไม่มีเบรคหลัง แต่ใช้การเบรคจากมอเตอร์เอา ประหยัดค่าเปลี่ยนผ้าเบรค+จานเบรคด้วย
@thanajeawmalee8634
@thanajeawmalee8634 4 ай бұрын
@@somjitra3733 ขอบคุณครับ
@user-du2uw6hh4b
@user-du2uw6hh4b 5 ай бұрын
คนที่ผลิตรถไฟฟ้า เค้าก็ทำขั้นตอนเป็น1-2-3สุดท้ายมันก็ชาร์ทได้เข้าแบตได้ ..นี้คือรถไฟฟ้าคันแรกยังไม่พัฒนา..ถึงขั้นนั้น ราคารถแพง
@nokthawat
@nokthawat 4 ай бұрын
รถน้ำมันถ้าเปิดแอร์ ยังวิ่งได้น้อยลงเลย เพราะ แทนที่เครื่องจะเอาพลังงานจากน้ำมันไปขับเคลื่อนล้อ ก็ต้องเพิ่มภาระให้ไดรชาจไปปั่นไฟด้วย ก็หลักการเดียวกัน
@AkaPonY
@AkaPonY 5 ай бұрын
เหมือนเอา พาวเวอร์แบงค์ 2 ก้อน ขนาดเท่ากัน ถ้าไม่มีการสูญเสียเลย มันจะ ชาร์จกลับไปมา ได้ตลอด แต่ในความจริง มันทำไม่ได้
@nngsrt2506
@nngsrt2506 5 ай бұрын
นอกจากงานที่เกิดขึ้นจากพลังงานแล้ว พลังงานส่วนหนึงจะสูญเสียไปในรูปความร้อนใช่ไหมครับ
@K_v551
@K_v551 5 ай бұрын
👍🏽
@kwunkwunchai5736
@kwunkwunchai5736 5 ай бұрын
ในกรณีถ้ารถวิ่งแล้วเอาแรงลมมาหมุนใบพัดปั่นไฟก็จะเป็นเช่นเดียวกันใช่ไหมครับอาจารย์ ผมก็สงสัยมานานแระ
@nil_lobert
@nil_lobert 5 ай бұрын
น่าสนใจมาก.....คับ....... ทำไมเขาไม่ทดสอบให้ดูละ...... ลมพัดกันชนหน้ารถ มันก็กินกำลังเครื่องยนต์เท่ากันกับใบพัดที่จะทำ
@elonmok6349
@elonmok6349 4 ай бұрын
ต้านลม กินแรงมอเตอร์ กินไฟมากกว่าเดิม ได้ไม่คุ้มเสีย
@thelazymelon9783
@thelazymelon9783 5 ай бұрын
สงสัยครับ ถ้าเกิดว่าเราทำรถยนต์บังคับที่เก็บพลังงานโดย Capacitor และใช้แหล่งไฟจากแผง Solarcell เป็นไปได้ไหมที่จะทำให้มันสามารถวิ่งได้
@trtonkaoruangkao7009
@trtonkaoruangkao7009 5 ай бұрын
เพิ่มน้ำหนัก และไฟไม่พอวิ่ง ถ้าวิ่งได้ก็ เคลื่อนที่ช้ามากกกก เพราะจ่ายไฟได้ นิดเดียว สมมุติมอเตอร์ใช้ 150 W แต่แผงขนาด 20×35 cm.(เต็มพื้นที่หลังคารถ) จ่ายไฟได้ 20w มันไม่พอขับเคลื่อนด้วยความเร็วเต็มพิกัดมอเตอร์ได้เลย
@chaiwoottongloh5520
@chaiwoottongloh5520 5 ай бұрын
คาปาความจุมันน้อยมากหน่วยเป็นไมโครฟาหราด​ เก็บไฟได้นิดเดียวถ้าเทียบกะแบต​ ถ้าใช้แทนแบตคงต้องต่อหลายสิบตัวท่วมรถแน่
@Crazykidsz
@Crazykidsz 5 ай бұрын
คำถามนี้คำตอบสั้นๆ ได้ไม่คุ้มเสีย
@endonol4408
@endonol4408 4 ай бұрын
คาปาซิเตอร์ที่จะเก็บได้ขนาดนั้น มีแต่ซุปเปอร์คาปาซิเตอร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในไอเดียแทนแบต แต่ยังอยูในการทดลองอยู่ และแน่หละว่าแพง
@camellafaralemkova5494
@camellafaralemkova5494 5 ай бұрын
ผมรอ แบต นิวเคลียร์ อยู่ครับ
@noppattaya1234
@noppattaya1234 5 ай бұрын
รอด้วยครับ
@Freedom-pc9md
@Freedom-pc9md 5 ай бұрын
กว่าจะย่อส่วนเตาปฏิกรได้เท่าแบต ต้องรอให้ยกเลิกจากอาวุธสงครามเสียก่อน อย่างระบบเครื่องเรือดำน้ำ แต่มันจะคุ้มต้นทุนหรือป่าว 😅😅
@army1825785
@army1825785 5 ай бұрын
มีกฏอนุรักษ์แมวไหมครับอาจารย์😂😂😂
@user-bq6vt9px8c
@user-bq6vt9px8c 5 ай бұрын
อยากถามอาจารย์ว่า...แล้วพลังงานแม่เหล็กแม็กนีโต(นีโอไดเมี่ยม) ขั้ว + และ ขั้ว - ที่ผลักกันหมุนเป็นพลังงาน สามารถผลิตไฟฟ้าได้จริงไหม (เคยดูแต่ในคลิปต่างประเทศ ยังไม่เคยทดลองทำ) ถ้าทำได้จริงก็ทำไว้ท้ายรถยนต์สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าชาร์ทแบตฯ ได้ตลอดไป ---แล้ว พลังงานไฮโดรเจน ที่ใช้แผ่นแสตนเลส กับ กรดที่ทำปฏิกิริยา เป็น ไฮโดรเจน ซึ่งทดลองกับเครื่องสูบน้ำเบนซิน ได้แบบไม่มีวันหมด เป็นความจริงหรือเปล่า (ศึกษาจากคลิปฯ ของต่างประเทศ) ---ลิขสิทธิ์พลังงานไฟฟ้า บางอย่าง/บางชนิด ที่สามารถผลิตไฟฟ้าได้ถูกมาก ๆ (เกือบฟรี...) ได้ถูกจดลิขสิทธิ์และซื้อเก็บไว้ "ใต้ลิ้นชัก" ห้ามนำออกมาเผยแพร่และผลิตใช้ เพราะขัดผลประโยชน์มหาศาล โดยผู้ทรงอิทธิพลของต่างประเทศที่ผลิตน้ำมันจริงหรือไม่ ---แม้แต่ พลังงานแสงอาทิตย์-โซล่าเซลล์ (บางคนก็ผรุสวาทวาจา...ว่า พระอาทิตย์เป็นพ่อของมึงเหรอ...ต้องขออนุญาตก่อนติดตั้ง ก็ไม่ทราบว่าผิดกฎหมายในข้อใด/กรณีไหน/อย่างไร?) ขอโทษด้วยนะครับที่ใช้คำไม่สุภาพ ได้อ่านมาจากในโลกโซเชียล
@endonol4408
@endonol4408 4 ай бұрын
ตอบแทนก็แล้วกันครับ ที่ใช้แม่เหล็กผลักกันอะไรนั่น เป็นกลหลอกครับ ลองคิดตามความเป็นจริงว่าการจะหมุนให้ได้ต่อเนื่อง ต้องมีกลไกจัดจังหวะวงจรดูด/ผลักให้เหมาะตำแหน่งขั้วแม่เหล็กตัวหมุนขณะหมุนไปกับใหสัมพันธ์กับตัวชุดแม่เหล็กที่อยู่นิ่ง แล้วแม่เหล็กถาวรมันจัดจังหวะเองได้ด้วยเหรอครับ สุดท้ายก็ต้องไฟฟ้าสร้างแม่เหล็กโดยผ่านวงจรจัดจังหวะจัดง่ายกว่านั่นแหละ ขนาดมอเตอร์ที่ใช้แม่เหล็กยังต้องใช้ไฟฟ้าเลย ส่วนไปติดไว้ท้ายรถมันก็เหมือนเพิ่มโหลดเป็นไดชาร์จอยู่ดี แต่เป็นไดชาร์จกระจอกๆที่ประสิทธิภาพต่ำนะ - พลังงานที่ใช้ในการผลิตไฮโดรเจน ต้องใช้ไฟฟ้าเท่าไหร่ครับ แล้วพลังงานจากการเผาไฮโดรเจนหน่ะมีเท่าไหร่ครับ ต้องศึกษาข้อนี้ เพราะพวกทำคลิปที่ว่า มันไม่ได้บอกละเอียดหรือใช้อะไรวัดเลย ไม่ว่าไฟที่ใช้กี่วัตต์ อัตราการผลิตแล้วการไหลของไฮโดรเจน เผลอ ๆ แอบซ่อนใส่เชื้อเพลิงเบนซินให้มันเดินปกติด้วยซ้ำ - เพราะบางคนทำเพื่อเอายอด หากมีใครไปแย้ง ด้วยหลักการถูกต้องแล้วตอบไม่ได้ ก็มักจะชอบอ้างเรื่องนี้แหละเพื่อปัดปกปิดการความผิดพลาดหรือการหลอกลวงของตัวเองไป(แม้บางเรื่องอาจจะจริงบ้างก็ตาม) - พลังงานโซล่าร์เซลล์ถ้าใช้ส่วนตัวโดยไม่อาศัยเชื่อมต่อกริดระบบไฟฟ้าเลย ก็ไม่มีปัญหาไร แต่จะมีก็พวกที่ต่อกริดมาใช้ด้วยนั่นแหละคือพวกสร้างปัญหา โซล่าเซลล์รู้อยู่แล้วว่ามีข้อด้อยเรื่องผลิตไม่คงที่และไม่ต่อเนื่อง ซึ่งบางช่วงก็ผลิตไม่ได้เลย ถ้าจะให้ใช้ได้ราบลื่นต่อเนื่องตลอดเวลาต้องติดตั้งระบบสำรองพลังงานส่วนเกิน ซึ่งต้องลงทุน แต่ส่วนใหญ่มักจะเอาไฟจากระบบกริดมาใช้ตอนที่ตัวเองผลิตไฟไม่ได้นั่นแหละ ซึ่งนั่นทำให้ระบบผลิตของกริดเปลี่ยนไปกระทันหัน เพราะการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นพีคโหลดกระทันหันทันที เพราะการผลิตในระบบกริดไม่สามารถจะจุดปุ๊บปั๊บได้ทันที จะทำให้ทั้งระบบดับเสียหายได้ แล้วถ้าบอกทำไมไม่ให้กริดเดินเผื่อก่อนหน้าตอนโหลดไม่พีคไว้ก่อนหล่ะ แต่มันรู้ป่าวว่าเป็นการเดินสิ้นเปลืองพลังงานปล่าวประโยชน์ เพราะคนใช้น้อย แถมช่วงนั้นมักเจอโซล่าร์เซลล์ที่ต่อกริดจ่ายไฟส่วนเกินเข้ามาในระบบที่มีคนใช้น้อย โหลดไม่สัมพันธ์กับกำลังที่ผลิตได้ มันจะยิ่งทำให้เกิดฟอล์ตได้เลย ซึ่งระบบจะต้องลดการผลิตจึงแก้ได้ แต่ก็ทำให้วนกลับปัญหาเดิมที่โหลดกระทันหันจากพวกใช้โซล่าร์ต่อกริดช่วงผลิตไม่ได้นั่นแหละ เพราะสต๊าตเครื่องไม่ทัน ดังนั้นจึงต้องมีการตรวจสอบพวกนี้เพื่อไม่ให้ระบบทั้งระบบพังทลายได้
@nayphunitiphat3724
@nayphunitiphat3724 4 ай бұрын
เจ้านายเก่า อยากทำเครื่องจักรนิรันดร์ บอกไปก็ไม่เชื่อ ปล่อยให้เจอเอง
@chaiwatpavawongsak8702
@chaiwatpavawongsak8702 4 ай бұрын
เวลรถวิ่งไปข้างหน้า เราติดใบพัดไวในชอ่งดักลมเอาแรงลมนั้นมาปั่นไฟได้ไหมครับ
How Many Balloons Does It Take To Fly?
00:18
MrBeast
Рет қаралды 69 МЛН
когда повзрослела // EVA mash
00:40
EVA mash
Рет қаралды 4,4 МЛН
Golden gadget 😍 New gadgets latest kitchen utensils #shorts
0:12
Golden Gadget
Рет қаралды 6 МЛН
A clash of kindness and indifference #shorts
0:17
Fabiosa Best Lifehacks
Рет қаралды 52 МЛН
ToRung short film: 🙏get a free meal🤤
0:41
ToRung
Рет қаралды 26 МЛН
Рыбаки в шоке. Рыбалка. #рыбалка  #shorts
0:20
Жизнь Рыбака
Рет қаралды 10 МЛН