ทำไมรถไฟฟ้า(EV)ชาร์จตัวเอง ถึงเป็นไปไม่ได้ - รถซิ่งวิทยา EP29

  Рет қаралды 776,349

Sandwish Media

Sandwish Media

Жыл бұрын

ทำไมรถไฟฟ้า(EV)ชาร์จตัวเอง ถึงเป็นไปไม่ได้
รถไฟฟ้า หรือ EV หรือ Electric Vehicle ดูเหมือนว่ามันจะกลายเป็นทางสายหลักของยานพาหนะในอนาคต นับจาก Tesla ที่สร้างปรากฎการณ์ ก็ดูเหมือนว่าค่ายรถยนต์ยี่ห้ออื่นๆก็ต้องเริ่มเดินเกมรุก ในช่วงปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ชัดเจรเลยว่ามียานพาหะนะพลังงานทางเลือกออกมามากมาย ตั้งแต่ EV - Electric Vehicle รถไฟฟ้าแท้ๆ , HEV - Hybrid EV รถไฮบริด , PHEV - Plug-in Hybrid EV หรือปลั้กอินไฮบริด และล้ำสุดๆเลยก็คือ FCEV หรือ Fuel cell EV
แต่เคยสงสัยไหมครับ ทำไมเรายังต้องชาร์จ EV ทำไมถึงไม่เอาแรงจากการวิ่งไปชาร์จรถตัวเอง? ในวันนี้เราจะมาเจาะลึกเรื่องนี้กัน
ติดต่อโฆษณา :
sandwish.crew@gmail.com
096-963-7007
ติดตามพวกเราในช่องทางอื่นๆได้ที่
Facebook
/ sandwishmedia
Tiktok
/ sandwish_media_official
Instagram
/ sandwishmedia
#sandwishmedia #ซวมด

Пікірлер: 1 300
@SandwishMedia
@SandwishMedia Жыл бұрын
*ขอตอบหลายๆ คำถามไว้ตรงนี้นะครับ* 1 ทำไมไม่เอาไดร์ชาร์จไปชาร์จแบตคนละลูกกับที่ใช้ขับมอเตอร์แล้วค่อยสลับกันใช้ - ชาร์จแบตอีกลูกก็กินกำลังมอเตอร์เท่ากันครับ คือจะกินแรงจากมอเตอร์เท่ากับกำลังไฟที่ไปชาร์จแบต + Loss ของไดร์ชาร์จ เช่นถ้าเราต้องใช้กำลังไฟในการหมุนล้อ 100 วัตต์ แล้วเราปั่นไฟไปชาร์จแบตอีกลูก 100 วัตต์ มอเตอร์ก็ต้องออกแรงอย่างน้อย 200 วัตต์(ถ้าไม่นับ Loss ของทั้งระบบ)แล้วได้กลับมา 100 วัตต์ เท่ากับเราเอาพลังงานไปแปลงไปแปลงมาเฉยๆ อยู่ดีครับ 2 ทำไมไม่ทดรอบให้ไดร์ชาร์จหมุนเร็วกว่ามอเตอร์ - ทดรอบให้ไดร์ชาร์จหมุนเร็วขึ้นมอเตอร์ก็ต้องออกแรงมากขึ้นครับ หรือถ้าทดรอบให้หมุนช้าลงแต่ทำให้แม่เหล็กไฟฟ้าข้างในไดร์ชาร์จแรงขึ้นเพื่อให้ได้ไฟมากขึ้นก็จะกินแรงมอเตอร์เหมือนเดิม (ถ้าเป็นไดร์ชาร์จของรถยนต์ที่มีวงจรข้างใน เวลาหมุนเร็วมันจะลดกำลังลงไม่ให้ชาร์จแบตเกิน) 3 ทำไมไม่ใช้กังหันลมปั่นไฟ - กังหันลมมันต้านลมครับ การจะเอาแรงจากลมไปหมุนกังหันได้คือมันต้องต้านลม ยิ่งอันใหญ่ปั่นไฟได้เยอะยิ่งต้านลม ทำให้มอเตอร์ต้องออกแรงมากขึ้น ก็จะได้พลังงานกลับมาน้อยกว่าที่เสียไป แบบเดียวกับการเอาแรงจากล้อไปปั่นไฟครับ 4 ต้องหาวิธีทำไดร์ชาร์จที่ไม่กินกำลังเครื่อง - ไดร์ชาร์จไม่ได้กินกำลังเครื่องครับ ถ้าลองเอามือหนุนไดร์ชาร์จดูจะรู้ว่ามันหมุนได้ง่ายมาก ที่มันหมุนยากตอนชาร์จแบตเพราะมันแปลงแรงจากการหมุนเป็นไฟฟ้าไปชาร์จแบต ยิ่งมันต้องปั่นกระแสไฟเยอะยิ่งหมุนยากครับ 5 แล้วถ้าเราปั่นไฟแค่ตอนเบรคล่ะ - อันนั้นทำได้ครับ เรียกว่า Regenerative braking มีในรถไฟฟ้าและ Hybrid แทบทุกรุ่น 6 ต้องหาวิธีทำให้ไม่เสียพลังงานเป็นความร้อน - อันนี้จะทำให้ประหยัดไฟขึ้นซึ่งเป็นเรื่องที่ดี แต่ไม่ได้ทำให้วิ่งได้ตลอดกาล 7 ใช้ Nano Diamond Battery แล้วรถไฟฟ้าจะวิ่งได้ 20000+ ปี - Nano Diamond Battery หรือแบตเตอรี่เพชร+นิวเคลียร์มีจริงๆ และใช้งานได้นานจริง แต่จ่ายไฟได้แค่ประมาณ 0.0001 W เท่านั้นเองครับ ในปัจจุบันมันยังไม่มีแรงพอจะเอาไปขับรถไฟฟ้า
@aupaup6035
@aupaup6035 Жыл бұрын
ไม่ต้องไปแหกกฎครับเรื่องแค่นี้คิดกันไม่ได้เราก็เปิดร้าสำหรับเปลี่ยนแบตเตอรี่ทุกเซเวนและต้องมีทุกยี่ห้อที่ขายในประเทศทีนี้คุณจะไปไหนก็ได้ทั่วประเทศเพราะเซเว่นมีทุกอำเภอ
@gotorsss7991
@gotorsss7991 Жыл бұрын
ทำได้ แต่ ติดที่ ...
@user-jz2wq6ou5v
@user-jz2wq6ou5v Жыл бұрын
สมดุลพลังงาน
@BaszBoochakiat
@BaszBoochakiat Жыл бұрын
จากคำอธิบายข้อ 4 ที่มันหมุนยากตอนชาร์จแบตเพราะมันแปลงแรงจากการหมุนเป็นไฟฟ้าไปชาร์จแบต ยิ่งมันต้องปั่นกระแสไฟเยอะยิ่งหมุนยาก ทำให้ผมฉุกคิดเรื่องเกียร์ขึ้นมาครับ ที่จุดประสงค์ทำให้มีแรงบิดที่เพิ่มมากขึ้น แต่กำลังขับจะยังคงเท่าเดิมจะเป็นไปได้มั้ยที่อนาคตจะพัฒนาไดร์ชาร์ทที่มีเกียร์ในตัวครับ เพื่อให้การชาร์ทไฟเข้าสัมพันธ์กับการจ่ายไฟออก มันจะไปถึงขนาดใช้พลังงานใน Cycle ของตัวเองได้มั้ย ทำไมเราไม่มุ่งไปที่การพัฒนาหรือการลดข้อจำกัดของไดชาร์ท หรือจริงๆแล้วมันทำไม่ได้จริงๆ
@KkKkk-uv1ux
@KkKkk-uv1ux Жыл бұрын
​@@BaszBoochakiat ไม่คุ้มกันนะสิครับ เพิ่มเกียร์คือเพิ่มต้นทุน ยิ่งแปลงยิ่งมีloss ครับ
@WatchalenMudkrathok
@WatchalenMudkrathok Жыл бұрын
เก๊กเสียงหล่อๆ มา 40-45 วิ นึกว่ามีสมาชิกคนลงเสียงใหม่ แต่เอ๊ะ นี่มันเสียงแอดฯ ภูเขานี่ (ผ่าม!!) ในช่วง 02:40 กับเรื่อง perpetual motion effect เจ้าปัญหา ถ้าต้องการให้มอเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็น base power (ต้นกำลัง) หมุนที่ความเร็วเพียงพอต่อการกำเนิดไฟฟ้า VDC ได้ตลอดเวลา โดยที่จะต้องใช้ไฟ VDC จาก alternator (ไดชาร์จ) / generator อย่างเดียวเท่านั้น ด้วยความที่มอเตอร์ไฟฟ้าก็ต้องการแรงมหาศาลในการปั่น alternator หรือ generator ก็เลยต้องมีชิ้นส่วนที่มาช่วยเก็บสะสมพลังงานส่วนหนึ่งด้วย ซึ่งในที่นี้คือ "แรงเหวี่ยง" โดยที่ชิ้นส่วนนั้นก็คือ มู่เล่ย์ (ล้อช่วยแรง) ซึ่งเมื่อมีชิ้นส่วนนี้เพิ่มเข้าไป เวลาสตาร์ทจะต้องใช้ไฟบ้าน หรือแหล่งพลังงานอื่นๆ ในปริมาณมากๆ มาขับให้มอเตอร์มีรอบที่มากพอที่จะไปหมุนอุปกรณ์ดังกล่าวถึง 2 ชิ้นนี้ให้ได้เสียก่อน จึงจะสามารถตัดพลังงานออกแล้วปล่อยให้หมุนเองต่อไป
@D3M0S_
@D3M0S_ Жыл бұрын
Krit tone No mountain Tone Yes!!!!555555
@kvy2006
@kvy2006 Жыл бұрын
พอ มูเลย์ ส่งแรงไปช่วยหมุน ไดชาร์จ ความเร็วของ มูเลย์ ก็จะลดลง เพื่อให้รอบการหมุนในการผลิตไฟฟ้าคงที่ คราวนี้ มอเตร์ ต้องออกแรงหมุนทั้ง มูเลย์ และ ไดชาร์จ ให้กลับไปมีความเร็วเท่าเดิม มอเตอร์ ยิ่งต้องออกแรงมากกว่าตอนที่หมุน ไดชาร์จ เปล่า ๆ เปลืองพลังงานหนักเข้าไปอีก ยังไงพลังงานที่ออกมาก็ขาดทุนอยู่ดี
@MrSupasek
@MrSupasek Жыл бұрын
คลิปนี้ ให้ เต็ม100 เลย ครับ ให้ความรู้ดี มาก
@user-ei6np8yj1i
@user-ei6np8yj1i Жыл бұрын
ขอขอบคุณสำหรับข้อมูล👍👍👍
@mr.kaysonkoniea3015
@mr.kaysonkoniea3015 Жыл бұрын
คุณเก่งมากครับ..ทั้งความรู้ ทั้งความสารถในการถ่ายทอด และความมานะหาสื่อประกอบ
@nutkittikawin8808
@nutkittikawin8808 Жыл бұрын
สงสัยมานานแล้ว ขอบคุณมากครับ เห็นภาพและเข้าใจขึ้นเยอะเลย
@ourtasidtisag7933
@ourtasidtisag7933 Жыл бұрын
เคยสงสัยแบบนี้เหมือนกัน ขอบคุณมากที่ชี้ทางสว่าง
@palmsutthinan8781
@palmsutthinan8781 Жыл бұрын
จริงๆมีการใช้ทฤษฎีเรื่องนี้มาใช้ในรถยนต์อยู่เหมือนกันนะครับ ในรถยนต์ที่ใช้มอเตอร์ และมีแบตเตอรี่ (นับรวมทั้ง รถตระกูล hybrid ด้วยนะครับ) จะมีการออกแบบมอเตอร์รถให้เปลี่ยนตัวเองเป็นไดนาโมได้ครับ ขอยกตัวอย่างเป็นรถยนต์ไฟฟ้านะครับ เพื่อให้เห็นภาพได้ง่ายๆ ในรถยนต์ไฟฟ้า เวลาเราเหยียบคันเร่ง มอเตอร์จะเอาไฟฟ้ามาเร่งรอบการหมุนมอเตอร์ให้รถเคลื่อนที่ แต่เวลาที่เราผ่อนคันเร่ง ตัวมอเตอร์เราจะทำงานตรงกันข้าม แทนที่มอเตอร์จะเอาไฟฟ้ามาใช้ มันจะอาศัยล้อที่หมุนอยู่ มาหมุนมอเตอร์(จริงๆต้องเรียกว่า ไดนาโม นะครับ)เพื่อปั่นไฟกลับไปที่แบตเตอรี่ โดยแลกกับรถจะชลอความเร็วลงเร็วกว่ารถน้ำมันครับ ถ้าใครที่ใช้รถไฮบริดหรือรถยนต์ไฟฟ้า จะสังเกตได้ครับว่า เวลาเราถอนคันเร่ง รถเราจะหน่วงๆ เหมือนมันโดนดึงล้อ ก็เพราะระบบ Regenerative breaking นี่แหละครับ Note : มอเตอร์ คือการรับเอา พลังงานไฟฟ้า มาเป็น พลังงานกล ไดนาโม คือการรับเอา พลังงานกล มาเป็นพลังงานไฟฟ้า 2 อย่างนี้สามารถอยู่ในสิ่งเดียวกันได้ครับ ตัวอย่างคือมอเตอร์รถยนต์ครับ
@palmsutthinan8781
@palmsutthinan8781 Жыл бұрын
ถ้าผมพิมพ์อังกฤษบ้างไทยบ้างก็ขออภัยนะครับ เนื่องจากคิดไปเขียนไป + ศัพท์บางคำผมก็ชอบทับศัพท์ไปเลย/ไม่รู้จะเขียนภาษาไทยไง มันเลยจะสลับๆกันบ้างนะครับ 😅
@sakuramiyuuna1248
@sakuramiyuuna1248 Жыл бұрын
มันเป็นไปได้ แต่ก็ติดอย่างที่อธิบายมา มันจะแบ่งการชาร์จและการดึงไฟออก พอผ่อนคันเร่งมันถึงจะชาร์จ พอเร่งก็จะหยุดชาร์จและดึงไฟไปเลี้ยงมอเตอร์ สุดท้ายก็จะไม่สามารถทำให้มันเป็นแบบพลังงานไม่จำกัดได้ คงต้องรอเทคโนโลยีใหม่ๆผลิตมอเตอร์ใหม่ๆออกมา สามารถชาร์จไปด้วยขนาดวิ่งได้ และแบตใหม่ๆที่ทนความร้อนได้ หรือว่าอาจจะมีแนวคิดที่ว่าเอาพลังงานไฮโดรเจนมาผสมกับแบตและมอเตอร์ไฟฟ้าละ มันจะทำได้หรือป่าว เหมือนรถhybridแต่เปลี่ยนจากน้ำมันเป็นไฮโดรเจน
@naruesornwattanapipat9718
@naruesornwattanapipat9718 Жыл бұрын
คิดง่ายๆว่า มอเตอร์ตัวเดียวกัน เปลี่ยนตัวเองเป็นไดนาโม ให้ได้รับพลังงานเท่ากับที่เสียไปตอนวิ่ง ต้องใช้ระยะทางที่เท่ากันในความเร็วเท่ากัน คือ สมมุติว่าวิ่งมาที่ความเร็ว 100 กม./ชม. ในระยะทาง 1 กม. จะให้ได้ไฟกลับมาเท่าที่เสียไป คือรถต้องไหลเร็ว 100กม./ชม. เป็นระยะทาง 1 กม. ซึ่งเป็นไปไม่ได้ในชีวิตจริง
@palmsutthinan8781
@palmsutthinan8781 Жыл бұрын
@@naruesornwattanapipat9718 ใช่ครับ เพราะในทางปฏิบัติ พลังงานไฟฟ้าที่ใส่ไปในมอเตอร์จะไม่ได้ออกมาในรูปพลังงานกล 100% แต่จะมีพลังงานบางส่วนออกมาในรูปพลังงานความร้อนแทน
@naruesornwattanapipat9718
@naruesornwattanapipat9718 Жыл бұрын
@@palmsutthinan8781 อันนี้แค่คิดโง่ๆเลยครับ ว่ามันเปลี่ยนรูปจากพลังงานไฟฟ้าเป็นแรงขับ 100% มันยังทำไม่ได้เลย รถอะไรจะไหลเร็ว 60-70 ได้เกินกิโลแบบไม่ต้องใช้พลังงานเพิ่ม ไม่ต้องมองถึงสูตรคำนวณ มองแค่การใช้งานจริงก็เป็นไปไม่ได้แล้ว
@user-wp4xl6yc3l
@user-wp4xl6yc3l Жыл бұрын
สูตรตายตัวของกำลังงานขาออกคือ P out = P in - Loss เสมอ ดังนั้นไม่มีอุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้าชิ้นไหนบนโลกที่จะทำให้พลังงานขาออกได้มากกว่าพลังงานขาเข้าแน่นอน ขนาดแค่ทำให้พลังงานขาออกได้เท่ากับพลังงานขาเข้า (ประสิทธิภาพ 100%) ยังไม่มีใครทำได้เลยครับ
@PrasinMike
@PrasinMike Жыл бұрын
ถ้าทำได้คงมีพลังงานฟรีๆแล้วละครับ😂😂
@SONofSpardaaa
@SONofSpardaaa Жыл бұрын
ถ้าเพิ่มefficiencyให้ได้มากที่สุดแล้วชดเชยlossด้วยโซลาร์เซลล์อาจจะเป็นไปได้ แต่ถ้าถึงยุคที่effสูงขนาดนั้นคงยัดเตาปฎิกรณ์ใส่รถได้แล้วมั้ง555
@user-wp4xl6yc3l
@user-wp4xl6yc3l Жыл бұрын
@@PrasinMike ถ้าใครที่ฝืนกฏเทอร์โมไดนามิกได้นี่ เขาคนนั้นคือเทพแน่นอนครับ 😂
@pengpreaw
@pengpreaw Жыл бұрын
@@user-wp4xl6yc3l ทำได้เอารางวัลโนเบลไปเลย
@user-iw6jn9qw1c
@user-iw6jn9qw1c Жыл бұрын
พูดแล้วพูดอีกครับเรื่องนี้ จำเรื่องที่มีลุงแก่ๆคนนึง ผลิตเครื่องปั่นไฟโดยใช้มือหมุนแค่ 2-3 ที แล้วสามารถใช้ไฟได้เป็นวันได้ไหมครับ ผมแค่ไปแสดงให้เห็นในเรื่องที่ได้เรียนมา ว่าถ้าทำตามที่ลุงทำ แค่ใช้มือหมุน 2-3 ที แล้วใช้ไฟได้ทั้งวัน มันไม่สามารถทำได้ โดนทัวร์ลงยับเลย โดนด่าสะเสียคน จนผมต้องลบเม้นทิ้ง ถ้าลุงคนนั้น ทำแบบนั้นได้จริง ป่านนี้คงรวยกว่าอีลอน มัสก์ แล้วล่ะครับ สามารถผลิตกำลังไฟขาออกได้มากกว่าขาเข้าเป็น 1000 เท่าเลย 😂
@DekKapoke-nt2hh
@DekKapoke-nt2hh 2 ай бұрын
ถ้าคนส่วนใหญ่ในประเทศใช้รถไฟฟ้าปัญหาเรื่องไฟฟ้าไม่พอใช้งานจะเกิด ทีนี้ต้องผลิตไฟฟ้าเพิ่มอย่างมาก เพราะแบบนี้น้ำมันไม่มีทางหายหปจากโลก แค่มันอาจจะมีส่วนใช้น้อยลง เครื่องยนต์บนโลกนี้ส่วนใหญ่ยังต้องใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง
@GoGo-co8nh
@GoGo-co8nh 27 күн бұрын
ต่อไปต้องทำได้แน่ครับ การพัฒนาไม่หยุดยั้ง ย่อมไม่สิ้นสุด แต่เมื่อคิดว่าสิ้นสุดเช่นเป็นไปไม่ได้ ก็ทำให้หยุดพัฒนา ลองคิดเล่นๆ แก้ปัญหา เช่นแบตเตอรี่ 2ช่วง สลับชาจน์สลับจ่ายไฟ แยกส่วน +พลังงานเสริมจากโชล่าเซลล์ ไดชาจถ้ามันหนักปั้่นไฟได้น้อย ก็คิดออกแบบให้มันเบาและผลิตไฟได้เยอะขึ้นได้ครับ ระบบเพลาลูกปืนลดแรงต้าน ลองคิดถึงรอกขนาดเล็กนิดเดียว แต่ใช่ยกของหนักกว่าตัวรอกได้เป็นร้อยเป็นพันหลายพันเท่า ไม่หยุดคิดไม่หยุดทดลองซะอย่างอะไรก็เกิดได้
@user-ib5jp9vg8i
@user-ib5jp9vg8i Жыл бұрын
ขอคุณความรู้ที่ท่านให้มา กระจ่างแจ้งเลยทีเดียว เห็นผลลับและข้อสรุปแล้วโดยที่ไม่ต้องลงมือทดลองอีกเรา
@s.a.w.supermax1349
@s.a.w.supermax1349 Жыл бұрын
ง้อวววว ...เสียงตอนเรียกอย่างติ๋มเลยครับ🤣🤣🤣หยอกๆ เท่ดีครับ
@mitmobile2207
@mitmobile2207 Жыл бұрын
ก่อนที่จะคิดเรื่องพลังงานอนัน สิ่งที่ควรคิดก่อนคือ จะทำยังใงให้ค่าต่านกระแสไฟฟ้าในวงจรทุกอย่างเป็น0 เข้า100 ออก100 โดยที่ไม่เสียพลังงานให้ได้ก่อน
@user-jr2ps9zn6g
@user-jr2ps9zn6g 5 ай бұрын
I think so.
@PP-dr7qs
@PP-dr7qs 2 ай бұрын
มันก็ย้อนมาเข้ากฎthermodinamicอยู่ดี เพราะยังไงก็เกิดความร้อนในระบบ
@siridejbura
@siridejbura Ай бұрын
เปลี่ยนสายไฟเป็น superconductor ครับ แต่อาจจะเปลืองค่าฮีเลี่ยมเหลวหนอย
@Mr.D-15
@Mr.D-15 Ай бұрын
ถ้าใช้เเบตสองก้อนละพออีก้อนหมดให้สลับโดยอัตโนมัติ
@RacingTH
@RacingTH Жыл бұрын
อะไรที่เป็นประโยชน์ มักจะโดนคุมกำเนิด100%
@kohKRT1163
@kohKRT1163 7 ай бұрын
ติดตามครับ.. ได้สาระ.. มาก​เลย.. ขอบคุณที่ทำคลิปดีๆ..
@anonymoussadboy2464
@anonymoussadboy2464 Жыл бұрын
จารย์ ทำเรื่องรถ ไฮโดรเจนหน่อยครับ
@fakfha
@fakfha Жыл бұрын
แบต2 ลูก มี function switch battery bat 1 ไช้งาน bat2 ชาร์ต bat1 หมด switch bat2 ใช้งาน bat1 ชาร์ต function ชาร์ต ใช้ ขดลวดทองแดง ปั่นไดนาโม ไม่มีการเสียดสี มี function สัก 3 ตัว แล้วแต่กำลังไฟที่ไห้ อีกอย่าง ถ้า bat ก้อนเดียว ไช้ไป ชาร์ตไป เสือมไว ร้อนด้วย อันตราย
@KkKkk-uv1ux
@KkKkk-uv1ux Жыл бұрын
ไม่มีการเสียดสี อันนี้ทำยังไงครับ
@chuanbuasuwan9830
@chuanbuasuwan9830 Жыл бұрын
ขอบคุณมาก สงสัยมาตั้งนานแล้วครับ
@narutoeak5962
@narutoeak5962 Жыл бұрын
ทำคลิปได้ดีมาก และมีความรู้จริงๆ ยอมซับเลย
@kaone64
@kaone64 Жыл бұрын
ถ้าตราบใด ยังมีปั้มน้ำมัน+ค่าน้ำมันไม่ใช่1ลิตร/100บ(ค่าแรงต่ำกว่า600) ผมก็จะยังใช้รถน้ำมันอะครับ ปล. ยกเว้นมีชุดแปลงรถเก่าเป็นรถไฟฟ้า+จำลองเสียงเครื่องสันดาบอะครับ
@aekapop2assavasetthachok36
@aekapop2assavasetthachok36 Жыл бұрын
ถ้าแนวความคิดเปลี่ยนไป คือไม่ได้ให้วิ่งตลอดไป แต่จะเป็นการลดการชาร์ตไฟลงหละครับ คือทำแบตเตอรี่เป็น 2 สวิทซ์ คือใช้แบตก้อนที่ 1 (ปิดสวิทซ์ส่วนที่2) ด้วยระบบชาร์จไฟ แล้วทำแบบที่ 2 ให้เป็นแบตชาร์ตไฟจากการวิ่ง และเมื่อใช้แบตส่วนที่ 1 หมดแล้ว ให้สับสวิตซ์มาใช้ส่วนที่ 2 แล้วกลับส่วนที่ 1 เป็นส่วนที่ชาร์จไฟจากการวิ่งแทน สามารถทำได้ใช่หรือไม่
@user-oe1vk5yz8z
@user-oe1vk5yz8z Жыл бұрын
ยากครับ มันต้องใช้พลังงานกลมากในการสร้างไฟฟ้า ยกตัวอย่างให้เข้าใจง่ายๆ เช่น ไฟฟ้า100 หมุนมอเตอร์ได้ 50 แล้วมอเตอร์ที่หมุนได้50 ชาร์จไฟฟ้าได้แค่10-20 มันได้ไฟฟ้ากลับมาน้อยกว่าเดิมครับ พลังงานฟรีมันเลยยังเป็นไปไม่ได้ครับ
@Nung6502
@Nung6502 4 ай бұрын
​@@user-oe1vk5yz8zถูกต้องสุดครับ
@agaligo-channel
@agaligo-channel 4 ай бұрын
ได้ แต่ต้อง มีการ switch แบตแบบ manual และรถต้องหยุดนิ่ง ก่อน ถ้า switch แบต จาก 1 ไป 2 ขณะขับขี่รถวิ่งอยู่นั้น กินกระแสสูงมาก จะเกิดการอาร์ค และความร้อนสูงมาก อาจระเบิดหรือไหม้ได้
@PP-dr7qs
@PP-dr7qs 2 ай бұрын
กินไฟกว่าเดิมครับ เพราะคุณไปเพิ่มวงจรมากขึ้น วงจรชาร์จไฟที่เพิ่มมามันก็ทำให้มีพลังงานlossในระบบมากขึ้นไปอีก
@kridsumangsri964
@kridsumangsri964 Жыл бұрын
สุดยอดมากครับ ทรงคุณค่าสุดๆ
@Shortcomment
@Shortcomment Жыл бұрын
ตอนนี้ทำดีมากๆเลยครับ เวลามีคนตั้งคำถามนี้ เอาคลิปนี้ไปเปิดให้ดูได้เลย สุดยอด
@user-vh5un4ib2h
@user-vh5un4ib2h Жыл бұрын
น่าจะทดลองขับเคลื่อนล้อหน้า แล้วล้อหลังใช้ปั่นไฟกลับน่าจะได้ระยะทางเพิ่ม
@g_sert3493
@g_sert3493 Жыл бұрын
เท่าที่ผมจำได้ตอนผมเรียน อาจารที่สอน Thermodynamic แกมักจะพูดเสมอว่า"ไม่มีเครื่องจักรกลความร้อนใดๆเลยที่จะไม่เกิดการสูญเสียพลังงานในการทำงาน" (อันนี้ผมไม่รู้ว่าใช้ได้กับมอเตอร์ในปัจจุบันไหมนะ) ค่อนข้างจริงครับเพราะ กฎข้อที่ 1 มักจะมองว่าการย้อนกลับของวัฏจักรการทำงานหรือการสร้างพลังงานเองโดยที่ไม่มีแหล่ง เป็นไปได้ แต่กับกฏข้อที่ 2 มันจะขัดกันทันที่ครับ ประมาณว่าถ้าคุณอยากฝืนธรรมชาติคุณต้องแทรกแซงมัน
@golfkeawheed7836
@golfkeawheed7836 Жыл бұрын
ชอบเสียงตอนเปิดคลิปมากครับ แลดูมีอนาคต
@user-sv2eh2ux5v
@user-sv2eh2ux5v Жыл бұрын
สุดยอดมนุษย์จริงๆความคิด
@nutopth
@nutopth Жыл бұрын
แค่ใช้โซล่าเซลล์แผ่นเล็กๆก็อัปไฟสูงๆต่ไปเลื่อยๆและใช้วัสดุที่เบา แค่นี้ก็ได้พลังงานมากพอที่จะขับเคลื่อนได้แล้วครับ เช่นการอัปไฟที่ผมทำที่บ้าน ผมใช้แค่ 0.20 โวลต์ อัปเป็น12DCอัปกำลังวัตแล้วก็อัปเป็น24 โวลต์วัตสูงแล้วก็อัปเป็น 220โวลต์ACวัตสูงให้เท่ากับไฟบ้านปกติ แล้วใช้แปลงเป็นไฟ24vเมื่อไฟคงที่ก็อัปเป็น220v. แค่นี้ก็ได้พลังงานฟรีที่ไม่มีวันหมดแล้วครับ แค่มีข้อจำกัดเล็กๆคือถ้าใช้ไปนานๆมากๆวงจรบางส่วนอาจเสียแต่ก็ไม่แพงมากครับไม่ถึง500บาท โปรเจคนี้ผมทดลองแล้วได้ผลจริงๆดีมากๆ อยากให้มีคนต่อยอดมากๆครับ ผมแค่เป็นเด็กอายุ16ครับ คงไม่มีงบที่จะทำโปรเจคใหญ่ๆได้ครับ😅😅 อนาคตของชาติ
@SandwishMedia
@SandwishMedia Жыл бұрын
โซล่าเซลล์เป็นพลังงานฟรีจากแสงอาทิตย์ แต่แผงโซล่าเซลล์ให้พลังงานจำกัดครับ พลังงานคือโวลต์ x แอมป์ = วัตต์ครับ ยกตัวอย่างในคลิปสกูตเตอร์ไฟฟ้าใช้ไฟ 2 แอมป์จากแบต 45 โวลต์เท่ากับ 90 วัตต์ ถ้าต้องการไฟ 90 วัตต์จากแผงโซล่า 0.2 โวลต์แผงโซล่าต้องจ่ายกระแสได้ 450 แอมป์เลยนะครับ สมมุติแผงมันจ่ายไหว สายไฟจะเส้นเท่าท่อน้ำ แนะนำให้ทดลองกับแผงโซล่าที่โวลต์และกระแสสูงหน่อยนะจะได้กำลังวัตต์สูงครับ อาจจะไม่พอสำหรับรถไฟฟ้าแต่เอามาชาร์จแบตเปิดไฟแสงสว่างลดค่าไฟได้ครับ ชอบทดลองและประดิษฐ์อะไรพวกนี้เป็นเรื่องที่ดีมากๆ ครับ พัฒนาต่อไปนะครับ
@nutopth
@nutopth Жыл бұрын
@@SandwishMedia เยี่ยมมากเลยครับ ขอบคุณครับผม
@oop2503
@oop2503 Жыл бұрын
@@SandwishMedia ช่วยเสริมครับเผื่อจะมีใครแวะมาอ่าน ตามหลักการข้างบนทำให้ระบบจ่ายไฟจะมีแรงดันหลายระดับ เพื่อให้ส่งกำลัง(Watt)ได้เท่าเดิมโดยใช้ขนาดสายไฟที่เล็กลง
@BakaJames
@BakaJames Жыл бұрын
คือพอเราใช้พลังงาน พลังงานมันก็ต้องเปลี่ยนรูปจากแบบหนึ่งไปอีกแบบหนึ่งอะ เช่นรถน้ำมันจากพลังงานที่เป็นน้ำมันก็จะเปลี่ยนมาเป็นความร้อนเครื่องยนต์-เสียงท่ออะไรแบบนี้ แต่ถ้าสมมุติว่าเราสามารถกักเก็บพลังงานทุกรูปแบบได้100% แล้วเอามาเปลี่ยนใช้ไปมาเรื่อยๆ โดยไม่เกิด loss ระหว่างทางแบบนี้น่าจะเข้าท่ากว่า
@Nung6502
@Nung6502 4 ай бұрын
มันทำแบบนั้นไม่ได้ตลอดครับ เดี๋ยวมันก็หมดไป แค่นานขึ้น แต่ยังไงก็หมด
@user-si7gk3qi4f
@user-si7gk3qi4f Жыл бұрын
ดีมากเลยครับแบบนี้
@patipansathitanan8338
@patipansathitanan8338 Жыл бұрын
ใช้พลังน้ำปั่นไดนาโม น่าจะถูก หรือใส่แบตเตอรี่ในรถขนาดเล็ก ติดแผงโซล่าเซลล์ วิ่งไปชาร์จไป แต่ไม่ต้องวิ่งเร็วครับ
@user-fj2yz7kl7j
@user-fj2yz7kl7j Жыл бұрын
และแล้วสิ่งที่ผมคิดมาตั้งแต่เด็ก ว่าทำไมไม่ชาทที่ล้อก็มีคนคิดเหมือนผมแล้ว😂
@mercyocean1554
@mercyocean1554 Жыл бұрын
มีคนคิดแบบนี้เยอะครับ แต่มันทำไม่ได้จริงไงครับ
@kowitk9799
@kowitk9799 Жыл бұрын
บางคนแก่จนตายก็ยังปักใจเชื่อว่ามีฟรีเอนเนอยี่
@Penon2007
@Penon2007 Жыл бұрын
คือถ้ามันจะให้มีรถไฟฟ้าที่วิ่งได้ตลอดจริงๆวิธีการเอามอเตอร​์ไปหมุนไดชาร์จ​คงไม่ได้อยู่​แล้ว​ คงต้องไปแก้ตรงระบบชาร์จ​ไฟที่ได้จากแหล่งอื่นอย่างโซลาร์เซลล์​หรือตอนเบรคไม่ก็ระบบกันสเทือน(ซึ่งที่พูดมาค่ายรถใหญ่ๆก็ทำกันหมดแล้วล่ะ)​
@user-ur9pc6qo6e
@user-ur9pc6qo6e Ай бұрын
มันมีการสูญเสียคาร์บอน(พลังงานพื้นฐานที่ถูกใช้ไป) มวลหรือสภาพภายในของทุกสิ่ง มันก็ล้วนผุพัง ไม่มีอะไรเสถียรได้หรอก นอกเสียจากจะไม่สูญพลังงาน(คาร์บอน)หรือ ทำให้พลังงานนั้นแปลงกลับมาในรูปเดิมได้แบบอุดมคติ
@vichansansiribhan8347
@vichansansiribhan8347 Жыл бұрын
เก็จเลยงานนี้👏👏
@yieldsaharat129
@yieldsaharat129 Жыл бұрын
ตอนหน้าอยากให้ทำ ประวัติการเเข่งขัน Dakar ได้ไหมครับ 😊
@createman4441
@createman4441 Жыл бұрын
+1
@leonone7052
@leonone7052 Жыл бұрын
บอกตรงๆเลยนะว่า admin ช่องนี้และทีมงานช่องนี้ ไอดอลเลยครับ ไลฟ์สไตล์การตัดต่อการทำวีดีโอสุดยอด อยากมีคุณสมบัติแบบพวกคุณมากๆเลย 👍
@kakushin2005
@kakushin2005 Жыл бұрын
อยากดูประวัติรถ suzuki hayabusa ครับ
@sulaimanyengyunor5637
@sulaimanyengyunor5637 Жыл бұрын
ได้ความรู้มากขึ้นคับ
@DirtySpace2001
@DirtySpace2001 Жыл бұрын
ที่แหกกฎไม่ได้เพราะมันไม่ใช่กฎหมาย แต่มันเป็นกฎธรรมชาติ555
@user-vh5bk9lh8v
@user-vh5bk9lh8v Жыл бұрын
แต่มนุษย์เราชอบฝืนกฎธรรชาติอยู่แล้ว ไม่งั้นคงไม่ทำอะไรได้แบบทุกวันนี้
@panuwatbuthorntaraj2909
@panuwatbuthorntaraj2909 Жыл бұрын
มันก็แค่กฏที่คนตั้งขึ้นแหล่ะครับ เพียงแต่ตอนนี้กฏนี้มันยังถูกอยู่ แล้วคนคิดจะแหกมันก็ยังคิดไม่ได้ด้วย แต่กฏนี้มันน่าจะผิดยากแล้วล่ะครับ
@kanokkampu8628
@kanokkampu8628 Жыл бұрын
@@user-vh5bk9lh8v เช่นอะไรครับ
@PrasinMike
@PrasinMike Жыл бұрын
@@user-vh5bk9lh8v ไม่จริงครับ ไม่มีอะไรฝืนกฏธรรมชาติได้ครับ เครื่องบินยังไม่ฝืนกฏธรรมชาติเลยครับ
@DirtySpace2001
@DirtySpace2001 Жыл бұрын
@@user-vh5bk9lh8v แต่สิ่งประดิษฐ์ที่สำเร็จมาทุกวันนี้ก็ไม่มีอะไรแหกกฎธรรมชาติเลยซักอันนะครับ
@Cunnyy
@Cunnyy Жыл бұрын
หลังจากนั้นเราก็ไม่เจอ แซนวิซ มิเดีย อีกเลย 💀
@Bashartbeat
@Bashartbeat Жыл бұрын
สุดยอดครับ กะจ้างเลยครับผม
@okartbualoi6942
@okartbualoi6942 Ай бұрын
แสงอาทิตย์ น้ำ อากาศ ฟรี
@mt0suki
@mt0suki Жыл бұрын
มีอีกทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับรถยนต์คือ ไฮโดรเจนยิงตรง มลพิษแทบไม่มี แต่ยังได้ฟิลิ่งเหมือนรถน้ำมัน
@pornchaikhongsriroj8417
@pornchaikhongsriroj8417 Жыл бұрын
ขั้นตอนการผลิตไฮโดรเจน ก็สร้างมลพิษครับ เทียบกับรถน้ำมัน มันต่างกันแค่สร้างตอนไหน รถน้ำมันสร้างมลพิษตอนเครื่องยนสันดาป รถไฮโดรเจน สร้างมลพิษตอนผลิตเชื้อเพลิงครับ
@peesdr1137
@peesdr1137 Жыл бұрын
ใครทำได้ คนนั้นตายก่อน โดนเก็บ เพราะโลกถูกขับเคลื่อนด้วยอำนาจและผลประโยชน์ ดูอย่างประเทศเรา คนเก่งๆฉลาดๆเป็นนายกไม่ได้ หลักๆเพราะอะไร??
@elzaznk1160
@elzaznk1160 3 ай бұрын
ไปเก่งกว่าหลักฟิสิกซะละ
@ChokchokChok-ro3sz
@ChokchokChok-ro3sz 2 ай бұрын
ผมว่าเจ้าของเม้นนี้เขาพูดถึงความเป็นจริงนะครับ
@user-dn2wj4ew9b
@user-dn2wj4ew9b 2 ай бұрын
​@@elzaznk1160จริงๆแล้วผมว่ามันไม่ได้ยากเลยนะถ้าจะทำ...ยกตัวอย่างรถยนต์กับรถมอเตอร์ไซค์ที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้...มันก็ชาร์จแบตในตัว..แบตเตอรี่ 1 ลูกใช้ได้ 2-3 ปี...แล้วรถไฟฟ้าถ้าจะทำจริงๆทำไมจะทำแบบชาร์จแบตในตัวไม่ได้...การตลาดล้วนๆครับ
@DestinyNX700
@DestinyNX700 29 күн бұрын
หลอนเห่ไรครับ
@gavitin5140
@gavitin5140 11 сағат бұрын
ถ้าเขาปล่อยให้ทำ​ ใครจิมาจ่ายภาษี ระบบจิไปรอดนิ
@rayyedyedrang4854
@rayyedyedrang4854 Жыл бұрын
การใช้เฟืองทดแรง ไม่รู้จะเอามาใช้กับการชาร์จแบตได้หรือเปล่า หรือแค่สว่าน โปรดักชั่นดีมากครับ
@asiabodykit694
@asiabodykit694 4 ай бұрын
ยิ่งเพิ่มเฟืองยิ่งสูญเสียพลังงานที่่เฟืองครับ
@suwannachaithongnoppakhun5693
@suwannachaithongnoppakhun5693 Жыл бұрын
เสียงต้นคลิปอย่างหล่อ เสียงท้านคลิปขนลุกเลย
@jahiziz
@jahiziz Жыл бұрын
ลองไปหาเรื่อง perpetual motion ในการผลิตเฟืองของนาฬิกาดูนะครับ ที่ต้องสบัดบ่อยๆอะ แรงในโลกมี 1แรงโน้มถ่วง 2แม่เหล็กไฟฟ้า 3นิวเคลียอ่อน 4นิวเคลียเข้ม แรงเหล่านี้จะเปลี่ยนกันไปมาระหว่าง4แรง เสมอแล้วมันไม่เคยเกิดใหม่หรือหายไปครับ
@K999x
@K999x Жыл бұрын
มันทำได้เขาทำแล้วครับ กว่าจะได้รถสักคัญวิศวกรนั่งคิดนอนคิด ถึงขั้นเก็บไปฝันเลย
@anubitz89
@anubitz89 Жыл бұрын
มอเตอร์-เจนเนอเรเตอร์มันมีค่าP loss
@PrasinMike
@PrasinMike Жыл бұрын
ถ้า ทำได้จริงๆคงใช้ไฟฟ้าฟรีไปแล้วละครับ
@PrasinMike
@PrasinMike Жыл бұрын
1 มีไม่หายอย่างเดียวคือแรงโน้มถ่วง แต่จะเอาอะไรมาถ่วงให้เกิดพลังงานจล ไปปั่นมอเตอร์ไฟฟ้าละครับ ถ้าบอกว่าน้ำ แล้วเอาพลังงานอะไร ขนน้ำขึ้นไปปั่นอีก สรุปมันก็เสียไปอยู่ดี 2 แม่เหล็กไฟฟ้า ต้องใช้ไฟฟ้าในการทำแม่เหล็ก อยู่ดี 3 - 4 ก็ต้องใช้ยูเรเนียม ในการสร้างพลังงนความร้อนไปต้มหม้อไอน้ำ ปั่นออกมาเป็นไฟฟ้า สิ่งที่เสียไปคือ ยูเรเนียม
@SandwishMedia
@SandwishMedia Жыл бұрын
นาฬิกาใช้แรงจากการที่เราต้องสบัดไปไขลานครับ ไม่ใช่ perpetual motion
@ELGATOlikeyourcat
@ELGATOlikeyourcat Жыл бұрын
อนาคตอาจจะเป็นพลังงานนิวเคลียร์ฟิวชั่นครับ พลังงานที่ใส่ทรัพยากรไปและผลลัพธ์ได้เยอะกว่าทรัพยากรแบบเดียวกับดวงอาทิตย์ที่ใช้อะตอมชนกันจนหล่อหลวมกันเป็นพลังงานแสงอาทิตย์และส่งมาที่โลก ตอนนี้มีนักวิจัยคิด algorithm เสร็จแล้วเหลือแค่วิธีออกแบบและสร้างแต่มันต้องวิจัยผลเสีย ผลลัพธ์อีกว่ามีปัญหาที่ยากเกินแก้หรือไม่ อนาคตไม่แน่ไม่นอนครับทุกวันนี้มนุษย์วิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ได้ไวมากกว่าเมื่อก่อนหลายร้อยเท่า
@sreebuarom
@sreebuarom Жыл бұрын
แต่นานมากกกกที่จะมาอยู่ในรถยนต์ครับ เพราะขนาด เร็วสุดก็เป็นโรงงานผลิตไฟฟ้า ถ้าย่อส่วนมาได้ก็ยานพาหนะขนาดใหญ่ เรือสินค้า เรือบรรทุกเครื่องบิน เรือดำน้ำ
@PrasinMike
@PrasinMike Жыл бұрын
นิวเคลียร์ มีใช้แล้วในเรือดำน้ำ เอาความร้อนไปปั่นไฟฟ้าเหมือนกัน
@ELGATOlikeyourcat
@ELGATOlikeyourcat Жыл бұрын
@@PrasinMike นั่นมันนิวเคลียร์ฟัชชั่นครับ ต่างจากฟิวชั่นเยอะ ผลลัพธ์น้อยกว่า(มากๆ) ผลเสียเยอะกว่า อันตรายกว่า คำถาม ฟิวชั่นกับฟัชชั่นผลลัพธ์ต่างกันอย่างไร สมุมุติคุณมีทรัพยากร 100 หน่วย ปฏิกิริยาฟิวชั่น คุณให้พลังงานไป 100 หน่วย ผลลัพธ์จะได้ 120 หน่วย ปฏิกิริยาฟิชชั่น คุณให้พลังงานไป 100 หน่วย ผลลัพธ์จะได้ 50 หน่วย และนี่คือข้อแตกต่างของผลลัพธ์ และแน่นอนยังไม่รวมปัจจัยอื่นๆเช่น กระบวนการ วิธีการผลิต ต้นทุน ทรัพยากรที่ใช้ ระยะเวลาคืนทุน และผลลัพธ์จริงมันจะเป็นเหมือนดวงอาทิตย์หรือไม่ที่ยืออายุพลังงานของตัวเองให้อยู่ด้วยนิวเคลียร์ฟิวชั่นได้นานมากกว่า5พันล้านปี สุดท้ายก็ต้องดูนายทุนรายใหญ่ตึงๆที่กล้าลงทุนในอนาคตแหละครับ เพราะมันเป็นพลังงานแก่ทุกสิ่งในโลกของเราจริงๆ
@PrasinMike
@PrasinMike Жыл бұрын
@@ELGATOlikeyourcat เอามาใส่ในรถใช่ไหมครับ หรือใช้ในการผลิตไฟฟ้า ?
@ELGATOlikeyourcat
@ELGATOlikeyourcat Жыл бұрын
@@sreebuarom ผมว่าอยู่ที่ขั้นตอนการผลิตของมันว่าจะยากหรือง่าย ในอนาคตยังมีเทคโนโลยีอีกหลายอย่างให้ตั้งตารอดูครับ ทุกวันนี้เทคโนโลยีไปไวมากๆจนมนุษย์ทั่วไปแทบจะตามกันไม่ทัน ทั้ง การใช้โซล่าเซลล์เป็นไฟฟ้า ใช้พลังงานไฟฟ้ากับรถ aiวาดภาพ aiจำลองเอกภพ aiเทรด Chatgpt ระบบสกุลเงินดิจิทัล พลังงานนิวเคลียร์ฟิวชั่น กล้องเจมส์เว็บ ทฤษฎีควอนตัมที่ถูกต่อยอด การพัฒนาเทคโนโลยี%จีโนม และอื่นๆอีกมากมายมหาศาล ที่รอพัฒนาขึ้นไวมากๆ สมัยยุคก่อนจะวิวัฒนาการเป็นโฮโมเซเปียนเราใช้เวลาเป็นแสนๆปีเลยนะครับกว่าจะวิวัฒนาการเป็นลายลักษณ์อักษรและใช้เครื่องมือเป็น หลังจากนั้นก็วิวัฒนาการไวเป็นทวีคูณจนมาถึงปัจจุบัน ลองดูการเปรียบเทียบปีเป็น%หรือเป็น^ ได้ครับ มนุษย์ใช้เวลาวิวัฒนาการไวกว่าเมื่อก่อนมากและมีแนวโน้มจะมากกว่านี้อีกหลายเท่า ปราบใดที่ทรัพยากรโลกไม่หมดไปก่อนหรือสภาพแวดล้อมในโลกมันไม่แย่ไปมากกว่านี้อ่ะนะ
@user-cg2je3ze8v
@user-cg2je3ze8v Жыл бұрын
ตามหลัก thermodynamic เป็นไปแทบไม่ได้เลยครับ มันมีการสูญเสีย ต่อให้สูญเสียน้อย มันก็จะหยุดในที่สุด
@Hamsuckker861
@Hamsuckker861 3 ай бұрын
ได้แค่นิดหน่อยครับ ตัวมอเตอร์ จะสลับกลับเฟรทไฟไปที่ตัว Inverter และจะแปลงกระแสจาก AC มาเป็น DC แล้วไหลกลับมา converter จากนั้นจะไหลกลับไปยังแบตเตอรี่ โดยมีBMSเป็นตัวควบคุม แต่เปอร์เซ็นต์การไหลกลับมาชาร์จนั้น น้อยมาก เมื่อเทียบกับกำลังไฟที่ใช้งานไป คิดเป็น 5-10%จากการใช้งานเมื่อชาร์จกลับ ผมเป็นfcนะครับ 2ปีแล้วชอบการนำเสนอมากๆครับ
@leomotobikesp494
@leomotobikesp494 Жыл бұрын
ส่วนตัวคิดว่ารถไฟฟ้าควรพัฒนากับเก๋งก่อนมากระบะ เพราะกระบะตัวถังใหญ่และโต้ลม จะกินพลังงานเยอะมาก แถมมอเตอร์ต้องใหญ่ตามเพื่อส่งกำลัง ราคาแพงขึ้นไปอีก กระบะควรเป็นไฮร์บริดก่อน
@jagapopy432
@jagapopy432 Жыл бұрын
0:00ไม่ชอบครับ ชอบฟังเสียงท่อหวานๆ🗿
@KziiTH
@KziiTH Жыл бұрын
เสียงมอเตอร์ก็หวานไปอีกแบบนะครับ อุอิ
@zazazazafreb
@zazazazafreb 2 ай бұрын
ทำได้ง่ายมากๆ ชาร์ทระหว่างวิ่งได้ครับผมมีวิธีการให้พลังงานมีใช้ตลอดครับ
@realer1585
@realer1585 2 ай бұрын
เเล้ววิธีของคุณคืออะไรครับ อยากรู้มากเลย
@user-sj7ul2bj5z
@user-sj7ul2bj5z Жыл бұрын
ผมกำลัง พัฒนาไฟฟ้าไร้สายอยู่ครับ หลักการทำงาน คล้ายๆกับสัญญาญมือถือ แต่เป็นรูปแบบไฟฟ้า ตอนนี้พัฒนาไปได้80%แล้ว ต่อไปรถยนต์ไฟฟ้าไม่ต้องจอดชาร์ทไฟฟ้าครับ
@D3M0S_
@D3M0S_ Жыл бұрын
8:46 กดให้เขาเถอะครับลงทุนตัดซะขนาดนี้555555 แล้วเสียงตอนท้ายนี่มัน!!!55555
@princearm_official3647
@princearm_official3647 Жыл бұрын
Yamete kudasai~~ah~~~
@praditduangtakua9937
@praditduangtakua9937 4 ай бұрын
นิสสันคิกเลยครับแน่นอน❤
@user-cy8xm9oy5j
@user-cy8xm9oy5j Жыл бұрын
แบตสำรองเหมือนโทรศัพท์น่าสนใจนะ
@user-yy9ej3lv7g
@user-yy9ej3lv7g 3 ай бұрын
ใช่ผมก็คิดแบบพี่นี้และ..ใช้พลังงานกล..แปลงเปลี่ยนมาเป็นพลังงานไฟฟ้า
@fudo52-g
@fudo52-g Жыл бұрын
ขอประวัติ ohlins หน่อยครับ ขอบคุณครับ สู้ๆคับพี่
@user-kitti147
@user-kitti147 Жыл бұрын
สุดยอด
@candyman1576
@candyman1576 Жыл бұрын
มาแบบเสียงหล่อเลยน่ะ
@user-yw1pp1hv8w
@user-yw1pp1hv8w Жыл бұрын
ลงลึกแล้วน่ะครับ มอเตอร์ขับเคลื่อนใช้ไฟฟ้าเยอะครับ ถ้าเอาอันเทอร์เนเตอร์มาปั่นไฟก็ได้ครับ แต่ได้น้อยกับพลังที่ใช้ไปมากกว่าครับ มอเตอร์ขับเคลื่อน W เยอะกินไฟมาก แต่อันเทอรเนเตอร์ W น้อยคงไม่ไหวเราะครับ ไฟจากแบตเตอรี่ก็หมดอยู่ดี ต้องคิดให้เยอะครับ
@user-kb6sc7lw6r
@user-kb6sc7lw6r Жыл бұрын
เคยคิดอยู่เหมือนกันครับ
@lovecharcoal6237
@lovecharcoal6237 Ай бұрын
ขอให้โชคดี คนซื้อ แบตแพงมาก
@theshadows6195
@theshadows6195 Жыл бұрын
ขอประวัติtoyota chaser cresta mark2 หน่อยได้ไหมครับ
@auracle2233
@auracle2233 Жыл бұрын
พี่คับๆข้อประวัติ ford f-150 raptor หน่อยคับ
@kritpitako
@kritpitako Жыл бұрын
ยังมีการสูญเสียพลังงานในระหว่างการแปลงพลังงานหรือการเปลี่ยนรูปแบบของพลังงานอยู่พอสมควร แถมเทคโนโลยีในปัจจุบันยังทำไม่ได้ ถึงทำได้ก็แพงมากๆครับ ถ้าเป็นในเชิงอุดมคติก็ทำได้ครับ เพราะไม่คิดการสูญเสียพลังงานในระหว่างการแปลง
@strawberrypietaylaew
@strawberrypietaylaew Жыл бұрын
ผมกำลังศึกษาโปรเจคนี้อยู่ แล้วมองว่าสิ่งที่ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ต่อเนื่องและทดแทนการใช้งานไฟฟ้าได้มากที่สุดคือลมครับ ใช้พลังงานกังหันจากแรงลมรถที่ขับ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและระบายความร้อน ได้ประโยชน์สองอย่างและลดอัตราการกินไฟเหมือนการใช้หัวฉีดแทนการจ่ายน้ำมันโดยตรง ถึงไม่สามารถใช้หมุนเวียนตลอดได้แต่สามารถทดแทนและลดการใช้พลังงาน ทำให้ทำงานได้นานขึ้น
@Sodca_Channel
@Sodca_Channel Жыл бұрын
ผมชอบนะ แต่แค่เครื่องสันดาบยังไม่มีปัญญาซื้อเลยตอนนี้ ขับ cc น้อยไปอย่างเวฟ110i โฉมแรกไปก่อน😅😅
@jcps57
@jcps57 Жыл бұрын
1.แรงแม่เหล็ก ที่ผลักหมุนกันไปมา อาจจะพัฒนาไปได้ไกล จนปั่นไฟได้ 2.โซล่าเซลล์ แผงที่พัฒนาดูซับ 3.ตอนนี้ เห็นช่วยแค่เวลาเบรค แล้วไปปั่นไฟ
@paparattapaparatta8547
@paparattapaparatta8547 Жыл бұрын
1จีนทำอยุ่แนวคิดดรสลัม
@fadilfeelgood
@fadilfeelgood Жыл бұрын
ทำประวัติโช๊ค ohlins ได้ไหมครับ
@zilverend
@zilverend Жыл бұрын
ทำประวัติ ohlins ทีครับ
@arthitmotoservice8199
@arthitmotoservice8199 5 күн бұрын
ติดตามครับ
@kritsadaphunkasem566
@kritsadaphunkasem566 Жыл бұрын
ฟังตั้งนาน
@thatchaicherd.2424
@thatchaicherd.2424 Жыл бұрын
คุ้มค่าที่กดสับตะไคร้จริงๆ
@pbsggmbh4636
@pbsggmbh4636 Жыл бұрын
เราทำแบบมีแบตเตอรี่เอาไว้-2-ชุดสิครับ-ชุดหนึ่งทำงาน-และจ่ายไฟไปที่-แบตสำรองสัก-30-/*%ส่วน70%ไปขับมอเต้อร์ที่ใช้งานอยู่-
@jhdy5216
@jhdy5216 Жыл бұрын
ทำฝาครอบล้อเป็นใบพัด ให้มันหมุนชาร์ตแบตสำรองใว้อีกลูก ได้ใหมครับ
@user-gr2jk2uh4q
@user-gr2jk2uh4q 3 ай бұрын
วันนี้ยังทำไม่ได้ แต่อนาคตจะทำได้แน่นอน...
@user-cw4je7gn2v
@user-cw4je7gn2v 4 ай бұрын
ลองไปหาดูครับ
@user-cz6vp7mu2c
@user-cz6vp7mu2c Жыл бұрын
ลุงสู้ๆ
@user-dr3jj3ju4d
@user-dr3jj3ju4d Жыл бұрын
เคยคิดเรื่องแบบนี่อยู่ว่าทำไม ตอนนี้รู้ละจากช่องนี้
@narutonaruto4743
@narutonaruto4743 Жыл бұрын
ต้องถามโทนี่สตาร์ค ไอรอนแมน ให้ผลิตแบตเหมือนที่อยู่บนหน้าอกนายได้ไหม😅😅
@eerybuzzero9229
@eerybuzzero9229 3 ай бұрын
ปัจจุบันพัฒนา generator ไปถึง generation 3 แล้วครับ ทำงานได้โดยไม่มีส่วนใดหมุนหรือเคลื่อนที่ Motionless เพื่อตัดปัญหาการสูญเสียพลังงานโดยใช่เหตุ จึงได้พลังงานส่วนเกินมากขึ้น จึงขาดเหตุผลที่กล่าวอ้างว่าขัดกฏเทอร์โมไดนามิกส์ ผลพลอยได้คือไม่มีกลไกส่วนไหนสึกหรอครับ
@NateWithWho
@NateWithWho 16 күн бұрын
ใครสามารถสร้างอุปกรณ์ที่มี Perpeputual motion แบบสมบูรณ์ได้นี่คือเทพ แต่อย่างว่า หลักของการ conserve/ convert พลังงานคือ พลังงานเข้ากับออกต้องเท่ากัน แต่ที่ดูเหมือนหายไปคือมันแปลงไปเป็นพวกความร้อน หรือพวก kinetic energy ที่หายไป
@terdpongjanthaphan2380
@terdpongjanthaphan2380 Жыл бұрын
เคยคิดอยู่ว่า แบ่งแบ็ทตารี่เป็นสองชุด ชุดหนึ่งใช้งาน อีกชุดใช้ไดปั่นไฟเข้า สลับกันไปมาระหว่างวิ่งเมื่อชุดที่วิ่งหมดก็สลับกลับไปชาร์ท มันยังงี้นี่เองถึงทำไม่ได้ แต่ต่อไปอาจจะมีการพัฒนาต่อไปได้ ทำอย่างไรจะไปลดแรงหน่วงในขณะล้อที่สี่หมุน ลดความร้อนจากมอร์เตอร์ หรือเอาความร้อนจากมอร์เตอร์กลับมาเป็นพลังงาน เสียดายไม่มีความรู้เรื่องนี้จึงได้แต่เดาถึงความจะเป็นไปได้. แต่เชื่อว่าอยู่ว่า มนุษย์ต้องทำได้สักวัน
@kritpakornliokhong6996
@kritpakornliokhong6996 Жыл бұрын
แบ่งแบบนั้นมันจะมีน้ำหนักเพิ่มมามอเตอร์ใช้ไฟมากขึ้นเพราะน้ำหนักเพิ่มขึ้น
@ukritchaiwattanakunkit2465
@ukritchaiwattanakunkit2465 Жыл бұрын
ทำข้อมูล รถพลังงานแอมโมเนียหน่อยคับ เห็นว่าประหยัดกว่าไฟฟ้ามาก เติมได้ไวกว่ารถไฮโดรเจน
@yourlovestation8984
@yourlovestation8984 10 ай бұрын
พลังงานที่ดีที่สุดและสะอาดที่สุดจริงๆคือนิวเคลียร์
@Jkk2690
@Jkk2690 Жыл бұрын
ทำได้ ด้วยการใส่แบต 2 ชุดขึ้นไป ให้ทำงานสลับกัน
@airobot913
@airobot913 Жыл бұрын
เคยทดลองแล้วครับ ไม่เป็นอย่างที่คิด เราไม่สามารถแหกกฏได้ เหมือนกินข้าวเข้าไปทางปากแล้วเอาอุจจาระมา รีไซเคิลกิน วนไปวนมาอีกรอบ
@analysisoriginal8159
@analysisoriginal8159 Жыл бұрын
มาหาอ่านcase Nokia Kodakคับ จากติ่งevเจอแม่งทุกโพสที่เกียวกับtoyota
@AttoneebyBoaT
@AttoneebyBoaT Жыл бұрын
ถ้าสรุปจากคลิปคือ ตัวต้นกำเนิดที่จะให้พลังงานได้ไม่มากเท่ากับที่เสียไป ซึ่งในส่วนของรถ hybrid ก็ไม่ใช่พลังงานอนัน มันคือการเอา lose ที่จะเกิดขึ้นขณะขับด้วยน้ำมันมาสร้างพลังงาน งั้นเราสามารถใช้ lose ที่เกิดกับรถ ev มาใช้ได้ไหมครับ หรือมันมีน้อยมากจนใช้ไม่ได้ 🧐
@gmaj7705
@gmaj7705 Жыл бұрын
ต้องมีไดชาร์จรุ่นอื่น ที่มันไม่กินแรงมอเตอร์ แต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ขนาดเล็กลง น้ำหนักเบาขึ้น แล้วก็ เมื่อรถวิ่งก็หลีกเลี่ยงลมที่ต้านกับตัวรถไม่ได้ ก็หาวิธีใช้ลมช่วยปั่นไดชาร์จด้วยเลยละกัน
@54321abcd
@54321abcd Жыл бұрын
ไม่มีทางครับ
@fishngo5077
@fishngo5077 Жыл бұрын
ถ้าเปลี่ยนรูปแบบของไดนาโมเป็นลักษณะเหมือนฮับมอเตอร์​จะช่วยลดภาระของมอเตอร์​กับการกินกระแสไฟได้หรือเปล่าครับ
@abcc8601
@abcc8601 Жыл бұрын
หากใช้เทคโนโลยี การหมุนเพื่อปั่นไฟ อาจเป็นไปได้ครับ หากใช่ เเบตเตอรี่ 2ชุด ครับ ชุดแรก ใช้พลังงานเพื่อขับเคลื่อน รถและได้แรงหมุน ไดนาโม เพื่อไปชาร์จ แบตเตอรี่อีกชุด ครับ และเมื่อ ชุดแรกแบตเตอรี่หมด ก็มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์สลับไปใช้ ชุดแบตเตอรี่ชุดที่2 แล้วชาร์จชุดที่1 วนสลับไปเรื่อยๆ แบตเตอรี่ชุด1และ2 สลับกันใช้พลังงาน และชาร์จ อาจะเป็นไปได้
@gamerrockertv
@gamerrockertv Жыл бұрын
อันนี้ได้ครับ ผมคิดจะทำยังนี้นานแล้ว แตงบประมาณไม่มีครับ
@lertworasaeng3609
@lertworasaeng3609 Жыл бұрын
ผมนึกถึงรถไฮบริดบางรุ่นที่เหยียบเบรคหรือถอนคันเร่งระบบจะชาร์ทไฟเข้าแบตเตอรี่ หรือมีแผงโซล่าเซลบนหลังคา
@user-tt4mb1eg4h
@user-tt4mb1eg4h 5 ай бұрын
เอามา ทำเป็นโดรย ทางการเกษตร คงจะดีมากๆ
@Emericanna
@Emericanna Жыл бұрын
พลังงานจลยังมีใช้อยู่ไหมครับ
@user-yj1fh6hx2p
@user-yj1fh6hx2p Жыл бұрын
โซลาร์เซลล์ดีสุดครับ
@tossapolzenithinter
@tossapolzenithinter Жыл бұрын
ใช้ แบต 2 ชุดครับ และใช้ bms มาบริหารจัดการแบต ใช้งานลูกที่ 1 เหลือ 30% bms จะตัดไปใช้แบตอีกตัว ส่วนอีกตัว ก็ทำการชาร์จตัวมันเองจาก ไดร์ชาร์จครับ แล้วจะใช้กำลังจากตรงไหนมาหมุนไดร์ เราก็ ทำเกียร์ทดรอบเพื่อนำมาหมุนไดร์ชาร์จ ไม่ใช้กำลังโดยตรงจากมอเตอร์ขับ และอีกทาง ใช้กำลังลมในระหว่างวิ่งมาผลิตไฟฟ้าแทน
@rukyutonhwan5998
@rukyutonhwan5998 Жыл бұрын
ถูกต้อง
@dkmgt100
@dkmgt100 Жыл бұрын
คิดเหมือนกัน
@user-uf8wk1qf9y
@user-uf8wk1qf9y 4 ай бұрын
สิ่งเหล่านั้นคือ loss ก็จะไปกินพลังงานของแบตเตอรี่เหมือนเดิม
@p.1966
@p.1966 Жыл бұрын
ผมเชื่ว่า อีกไม่นานคงทำได้แน่นอน... วิ่งไปโดยพลังงานไม่มีวันหมด.... หรือขอแค่ชาร์ทไฟในเวลาที่ไม่เกิน10นาที... แล้ววิ่งได้ระยะทางมากๆ... มากๆ นี่คือขอสัก 1,500 กม. ขึ้นไปคับ.... ✌✌✌👍👍👍❤❤❤❤❤
@theweejr
@theweejr Жыл бұрын
ใกล้เคียงสุดตอนนี้ก็คงติดแผ่นโวล่าแหละครับอาจจะเพิ่มได้อีกนิดหน่อย
@eakwitpadmalid347
@eakwitpadmalid347 Жыл бұрын
ในคลิปลืมพลังงานจากลม เวลารถวิ่ง
ทำไม Yamaha ไม่ทำรถ?
14:01
Sandwish Media
Рет қаралды 349 М.
Неприятная Встреча На Мосту - Полярная звезда #shorts
00:59
Полярная звезда - Kuzey Yıldızı
Рет қаралды 7 МЛН
Дибала против вратаря Легенды
00:33
Mr. Oleynik
Рет қаралды 4,4 МЛН
Самое идиотское ДТП года
0:13
Новостной Гусь
Рет қаралды 1,7 МЛН
Husqvarna Toy&Husqvarna LC 140 SP@vigosworld
0:14
Vigo's world
Рет қаралды 12 МЛН
Холодный асфальт придумали гении
0:19
WB КОПАТЕЛЬ 2.0
Рет қаралды 14 МЛН