ทุเรียนพันธุ์ "มูซานคิง" ทางเลือกใหม่ผลไม้ส่งออก | เกษตรนิวเจน | 13/05/66

  Рет қаралды 44,568

TNN

TNN

Жыл бұрын

“ทุเรียน” ถือเป็นราชาแห่งผลไม้ไทยที่ผู้บริโภคทั่วโลก เมื่อได้รับประทานแล้ว ต่างก็ติดอกติดใจในรสชาติ ความหวาน มัน อร่อย และยังเป็นผลไม้เศรษฐกิจที่สร้างรายได้ให้กับประเทศไทยจำนวนมหาศาลเลยล่ะค่ะ โดยไทยมีทุเรียนมากกว่า 200 สายพันธุ์ แต่สายพันธุ์หนึ่งที่กำลังเป็นที่นิยมจากผู้บริโภค และตลาดต้องการสูง โดยเฉพาะประเทศจีน นั่นก็คือ “ทุเรียนพันธุ์มูซานคิง” ราชาแห่งทุเรียนมาเลเซีย นั่นเองค่ะ ทำให้ปัจจุบันเกษตรกรไทยหันมาปลูกกันมากขึ้น เนื่องจากขายได้ราคาสูง
Timecodes
1:51 ประวัติทุเรียนพันธุ์มูซานคิง
3:19 ทุเรียนมูซานคิงจากมาเลเซีย มาสู่ประเทศไทย ได้อย่างไร ?
5:14 ทุเรียน ผลไม้เศรษฐกิจที่สำคัญของไทย
6:16 ปี 2566-2570 การบริโภคทุเรียนทั่วโลก ร้อยละ 10.6 ต่อปี
6:50 ปริมาณการส่งออกทุเรียนสด ปี 2566
7:16 ปี 2568 ไทยจะเป็นผู้ผลิตทุเรียนอันดับ 1 ของโลก
9:33 มูซานคิงอร่อยเกินต้าน คนจีนแห่ซื้อ 60 ตัน ภายใน 1 ชั่วโมง
10:41 เปิดสูตรปลูกทุเรียนมูซานคิง ทำอย่างไรให้สำเร็จ
15:13 คุณผู้ชมรู้หรือไม่ ฤดูกาลผลิตทุเรียนของประเทศไทยอยู่ในช่วงใดบ้าง ?
17:58 ไอคอนสยาม เอาใจสาวกทุเรียน การันตีความอร่อยแบบไม่ต้องลุ้น
20:22 สายกินต้องรู้ ทุเรียนแต่ละพันธุ์ อร่อยต่างกันอย่างไร ?
#ทุเรียนพันธุ์มูซานคิง
#มูซานคิงกับหมอนทอง
#มูซานคิงล่าสุด
#เกษตรนิวเจน
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16
www.tnnthailand.com
tv.trueid.net/live/tnn16
/ tnn16
/ tnnthailand
/ tnn16live
/ tnnthailand
/ tnn_online
/ tnnonline
Line @TNNONLINE หรือคลิก lin.ee/4fP2tltIo
ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

Пікірлер: 27
@JoJo-xe3ds
@JoJo-xe3ds 11 ай бұрын
มาตรฐานการผลิตไทยมีคุณภาพดี เหมาะกับการส่งออกอยู่แล้ว ขอให้รวยๆกันทุกคนนะ
@user-gz6sp3qv6n
@user-gz6sp3qv6n 4 күн бұрын
หมอนทองน่ะดีแล้ว การจะส่งออกได้ในราคาแพงต้องทำราคาภายในประเทศให้แพงก่อน สายพันธุ์ที่นิยมในไทยคือหมอนทองหรือก้านยาว การนำสิ่งใหม่ๆมาต้องแตกต่างจากเดิมแต่คนไทยเคยชินกับสินค้าแล้ว ส่วนสายพันธุ์ใช้เทคโนโลยีพัฒนาต่อยอดได้ในเรื่องทนต่อสภาวะอากาศรวมถึงให้ผลผลิตที่มากกว่าเดิม
@user-hc9qw7ol6f
@user-hc9qw7ol6f 11 ай бұрын
@user-uc3vy9up5e
@user-uc3vy9up5e Жыл бұрын
ยังไงก็เเพ้หมอนทอง
@tatumrussameephen9621
@tatumrussameephen9621 Жыл бұрын
ผมว่าเนื้อมันสีสวย​ ถ้ากินแบบกรอบนอกนุ่มในแบบหมอนทองจะอร่อย​รึเปล่า​เพราะเคยได้ยิน​ว่าต้อง​กิน​เละๆ​ ต้อง​หล่นจากต้น
@user-nz7jt6fx9l
@user-nz7jt6fx9l Жыл бұрын
คุณเคยกินแต่ทุเรียนตัดจนชิน ลองมากินแบบไกล้สุกจะลืม ทุเรียนตัดไปเลยเอาอะไรมาแลก ก็ไม่เอาลองดูแลัวจะรู้เองครับ
@exex6285
@exex6285 Жыл бұрын
อร่อยครีมหอมเม้ดเล้ก
@user-uc3vy9up5e
@user-uc3vy9up5e Жыл бұрын
สู้หมอนทองไม่ได้หรอก
@poapakasitpoapakasit3572
@poapakasitpoapakasit3572 Жыл бұрын
ช😊 มี😊
@prasarn1980
@prasarn1980 Жыл бұрын
ได้ราคาดี ส่งนอก คนไทย กินแล้วสู้หมอนไม่ได้ เนื้อเละ แหยะๆ
@erosser6755
@erosser6755 10 ай бұрын
ต่อไปคนจีนก็จะไม่กินพันธุ์นี้ละ เนื้อเละ😂
@sasvaruk
@sasvaruk Жыл бұрын
พันธ์ของมาเลเซียเขาไม่ใช่รึ
@wasannakmoon964
@wasannakmoon964 Жыл бұрын
ไม่อร่อย เท่าหมอนทองดอก
@surachaipukdeechon4405
@surachaipukdeechon4405 Жыл бұрын
มูชังคิง ส่งวัยคล้ายชะนี ติดขม ไม่อร่อย ชอบหมอนทอง
@user-yt5yx9lz8d
@user-yt5yx9lz8d Жыл бұрын
ทุเรียนเมืองนน...เปนสายพันธ์ไรค้าป..เค้าบอกว่า..อร่อยสุดในสามโลก..
@suarsivapong9311
@suarsivapong9311 Жыл бұрын
สายพันธุ์เก่า ๆ ทั้งหมดเป็นทุเรียน เมืองนนท์ ที่เมืองจันทบุรี ระยอง ตราด และจังหวัดอื่น ๆ ทั่วประเทศ ทุเรียนต้นสายก็มาจากเมืองนนท์ ยกเว้นบางสายพันธุ์ ของเมืองนนท์ ตระกูลกำปั่น (ต้นสายหมอนทอง ) ทองย้อย ทองย้อยฉัตร ก้านยาว หลากสายพันธุ์ ตระกูลกบ นับร้อยสายพันธุ์ ตระกูลลวงก็อีกนับร้อยสายพันธุ์ เช่น ชะนี ชมพูศรี ชมพูพาน ย่ำมะหวาด นกกระจิบ(เม็ดในยายปราง ,พานพระศรี) ชายมะไฟ ฯลฯ ต้นสายคือทุเรียนเมืองนนท์
@user-yt5yx9lz8d
@user-yt5yx9lz8d Жыл бұрын
@@suarsivapong9311 ขอบคุณครับความรู้เชิงลึกจริงๆ...คนไทยส่วนใหญ่จะรู้กันมัยนี่
@suarsivapong9311
@suarsivapong9311 Жыл бұрын
@@user-yt5yx9lz8d คนไทยชอบกินกันอย่างเดียวครับ ไม่ค่อยหาความรู้ รู้จักแค่ หมอนทอง ชะนี ก้านยาว แต่ไม่รู้ว่าทุเรียนประเทศไทย มีมากกว่า 600 สายพันธุ์ และสายพันธุ์ที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ อีกหลายสิบสายพันธุ์ เวลาพวกมาเลเซียมาขิงใส่เรื่องพันธุ์ทุเรียน เช่น มูซังคิง และ หนามดำ (โอวฉี ) ไม่สามารถที่จะหาข้อมูลไปโต้ตอบกับเขา ลองศึกษาครับ ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี มีการเก็บรวบรวมสายพันธุ์ไว้มากกว่า 600 สายพันธุ์ และมีการพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ของศูนย์เอง มีมากกว่า 10 สายพันธุ์เป็นลูกผสม หมอนทอง + ชะนี หมอนทอง + ก้านยาว ฯลฯ ทุก ๆ 10-20 ปี จะมีสายพันธุ์ทุเรียนใหม่เกิดขึ้น ยิ่งสวนที่มีการปลูกหลากหลายสายพันธุ์ในพื้นที่เดียวกัน
@user-yt5yx9lz8d
@user-yt5yx9lz8d Жыл бұрын
@@suarsivapong9311 เยี่ยมเลยค้าปท่าน...น่าเสียดายที่เรามีหลากหลายสายพันธ์..แต่ไม่มีหน่วยงานของรัฐ มาสนับสนุนปรับปรุงสายพันธ์..เราอาศัยกินแต่บุญเก่า
@suarsivapong9311
@suarsivapong9311 Жыл бұрын
@@user-yt5yx9lz8d มีการปรับปรุงสายพันธุ์ แต่เกี่ยวกับการตลาด คนไทยรู้จักแต่ พันธุ์หมอนทอง คนปลูก ปลูกแล้วขายได้ ขายง่าย นั่นคือเหตุผลที่ทำให้สายพันธุ์อื่น ๆ มีคนปลูกน้อย และสายพันธุ์ มูซังคิง ของมาเลเซีย ก็เช่นกัน คือการโฆษณาให้คนแห่ตาม เพื่อทำตลาดสายพันธุ์ของเขา จริง ๆ คนไทยนำมาปลูกและขยายพันธุ์ มานับสิบปีแล้ว เรื่องขยายพันธุ์พืช ไม่มีใครสู้ประเทศไทยเราได้ในภูมิภาคนี้ และส่วนราชการก็ได้ ปรับปรุงหลายสายพันธุ์ดังที่ได้บอก แต่คนยังไม่นิยม จึงไม่มีใครปลูกเพื่อเป็นการค้า ทั้ง ๆ ที่เป็นทุเรียนที่มีรสชาติดี พันธุ์จันทบุรี 1 ถึง 10 และที่ ศูนย์วิจัยพืชสวนตรัง ก็มี 2-3สายพันธุ์
@user-qr1ks5rf9w
@user-qr1ks5rf9w 10 ай бұрын
ทำไมบางที่ เรียก มูซังคิง บางที่ มูซานคิง ใช่พันธุ์เดียวกันหรือไม่ ครับ
What it feels like cleaning up after a toddler.
00:40
Daniel LaBelle
Рет қаралды 74 МЛН
ระยะปลูกทุเรียนหมอนทอง
1:43
ทุเรียน มือใหม่
Рет қаралды 13 М.
$1 vs $500,000 Plane Ticket!
12:20
MrBeast
Рет қаралды 403 МЛН