วิเคราะห์ซากยาน TITAN กับการ Implosion เกิดในลักษณะไหน? เพราะอะไร? ตรงไหน? ยังไง?

  Рет қаралды 220,826

ZoLKoRn

ZoLKoRn

Күн бұрын

หลังจากที่เราต่างก็พอจะทราบกันบ้างแล้วถึงสาเหตุของการสูญเสียงจากยานดำน้ำลึก Titan จากทาง Oceangate ที่เกิดการ Implosion หรือโดนบีบด้วยแรงกดน้ำจนระเบิดแตกออกเป็นชิ้นๆ และล่าสุดก็มีการกู้ซากยานบางส่วนขึ้นมาจากน้ำได้แล้ว และจากซากชิ้นส่วนของตัวยานที่ได้เห็น มันก็พอที่จะบอกหรือสามารถที่จะทำให้เราคาดเดาถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาของการ Implosion ได้มากยิ่งขึ้นว่า เกิดขึ้นในลักษณะไหน จุดไหน ตรงไหน อะไรเป็นเหตุเป็นต้นตอที่ทำให้ตัวยานไม่สามารถรับแรงกดน้ำในครั้งนี้ได้? #ยานtitan #ยานดําน้ำไททัน #เรือดำน้ำไททัน
วิดีโอที่เกี่ยวข้อง
เกิดอะไรขึ้นกับ เรือดำน้ำ Titan เละเป็นโจ๊กได้ยังไง? : • เกิดอะไรขึ้นกับ เรือดำ...
Deepsea challenger ทำไมลงไปได้ลึกกว่า 10 กิโลเมตร? (เรื่องของรูปทรงห้องโดยสาร) : • Deepsea challenger ทำไ...
ทำไมขวดแชมเปญ ขวดไวน์ ในซากเรือ TITANIC ถึงไม่แตก เป็นเพราะอะไรได้บ้าง? : • ทำไมขวดแชมเปญ ขวดไวน์ ...
Time Stamp
00:00 เกริ่นนำ
01:00 ภาพของซากยาน TITAN
02:45 วัสดุที่ใช้ทำห้องโดยสาร
04:02 การ Implosion ที่ประเมินกันในครั้งแรก
04:30 ชิ้นส่วนและการผลิตตัวยานจาก Oceangate
06:20 ประกอบยานด้วยกาว!
07:40 สภาพโดมหน้าของ Titan
08:51 จุดอ่อนของตัวยาน
09:37 จำลองชิ้นส่วนประกอบของยาน
11:05 ลักษณะการแตกของวัสดุคาร์บอนไฟเบอร์
12:49 สรุปแบบมองภาพอย่างง่าย
ติดตามผลงานของเรา...
ติดตามผ่าน Facebook ได้ที่ : / zolkorn
ติดตามผ่าน Twitch : / zolkorn
ติดตามผ่าน Twitter ได้ที่ : / zolkorn
ติดตามเว็บไซต์ : www.zolkorn.com
ติดต่อเรา : www.zolkorn.com/contact/
พูดคุยระบบเสียง : / @justazound4395
Credit :
___________________________
End music :
Titre : Nothing I Won't Do (feat. Kianna)
Artist : Giulio Cercato
Powered by: / giuliocercatomusic

Пікірлер: 459
@user-ef3mf2bh1n
@user-ef3mf2bh1n Жыл бұрын
มันทากาวที่ขอบห้อง Carbon Fiber กับวงแหวนแต่ไม่มีตัวรั้งระหว่างวงแหวน 2 วงเพื่อเพิ่มควาทแข็งแรง แบบนี้นึกถึงกระบอกสูบเลยขนาดลม ขนาดแรงดันไม่สูงมาก ยังจำเป็นต้องมีน๊อตยาวๆรั้งสองข้างอัดตัวเข้าหาทั้งสองด้านของกระบอกสูบ และขนาดของกระบอกเส้นผ่าศูนย์กลางที่โตขึ้นมากๆ การให้ตัวก็มากกว่า และออกแบบมาเป็นลักษณะ Laminate ระหว่าง กระบอก Titanium กับ Carbon fiber ด้วยแล้วค่าการขยาบตัวและการหดตัวของสองสิ่งนี้ไม่เท่ากันแน่นอน และยิ่งอุณหภูมิในห้อง และนอกเรือที่แตกต่างด้วยมีโอกาสที่จะแยกชั้นและทำให้ความแข็งแรงลดลงไปได้อย่างมากเมื่อใช้งานมากครังขึ้น
@puffpineapple2880
@puffpineapple2880 Жыл бұрын
เห็นด้วยครับ แตกกลางลำ เพราะลงไปหลายรอบแล้วนับเป็นจำนวนไม่รู้กี่ชั่วโมงที่อยู่ในแรงดันสูงและอุณภูมิต่ำ ผมเห้นว่าคาร์บอนไฟเบอร์โดนแรงอัดจนเสียสภาพ ในการลงครั้งแรกๆอาจจะทนได้ แต่พอลงครั้งหลังๆสภาพตัวไฟเบอร์มันลดประสิทธิภาพทนแรงดันลง ทนแรงดันได้น้อยลงจากที่ตัวมันสูญเสียคุณสมบัติทางกายภาพ จึงแตกกลางลำ และผมเห็นด้วยว่าไม่ใช้การระเบิดแบบมีอุณภูมิสูง เป็นการแตกรั่วแบบฉับพลันแรงดันอัดตัวจากน้ำอัดอากาศยานระเบิดแตกออกเป็นเสี่ยง อากาศถูกอัดตัวจนละลายเข้าไปอยู่ในน้ำทั้งหมดไม่ได้มีฟองลอยขึ้นมาแต่อย่างใด และต้องมีชิ้นส่วนร่างกายมนุษย์เหลืออยู่แน่แต่อาจจะเป็นอาหารของสัตว์น้ำไปเยอะแล้ว
@user-lx2kl4wy4m
@user-lx2kl4wy4m Жыл бұрын
ชอบฟังพี่ค่ะ ละเอียด​ดีเข้าใจง่าย​ด้วยค่ะ
@stepbruv8780
@stepbruv8780 Жыл бұрын
สุดจริง เรือดำน้ำ DIY home-made ชัดๆ ไม่บึ้มก็แปลกแล้ว
@NickyHanon
@NickyHanon Жыл бұрын
เรื่อดำน้ำที่ได้มาตรฐานลงไปที่ความลึกขนาดนั้นได้จริงๆมีแค่10ลำในโลกครับ ซึ่งไม่ใช่ไททัน
@stepbruv8780
@stepbruv8780 Жыл бұрын
@@NickyHanon สร้างมาดีอย่าง Alvin ดำลงลึก 4000-5000 ครั้งผ่าน 40กว่าปีก็ยังไม่เสียหายปลอดภัยใช้งานจนถึงปัจจุบันอยู่เลย
@twok4855
@twok4855 Жыл бұрын
ประเด็นคือมันลงไปหลายครั้งแล้วด้วยนะ ไอ้ไททันนี่ รวมๆ 10+ ครั้งได้ รวมการทดสอบด้วย
@XEG99982
@XEG99982 Жыл бұрын
เจ้าของเรือหิวเงินครับ คำนึงผลประโยชน์มากกว่าความปลอดภัย
@user-zp3eh7qy8k
@user-zp3eh7qy8k Жыл бұрын
เขาบอก diy ส่วนใหญ่คือสายดีด
@sgknvddfjmmb3110
@sgknvddfjmmb3110 Жыл бұрын
มีข้อบกพร่องแน่ แต่มันไม่น่าจะผลิตแบบก๊องแก๊งอย่างที่คุณว่า ก็มีเหตุมีผลเป็นที่น่าสนใจ ดูเรื่องการเมืองมันทั้งเบื่อทั้งแย่ ดูช่องนี้เปลี่ยนบรรยากาศ
@haruOxxx
@haruOxxx Жыл бұрын
ชัดเจนมากเลยครับ ขอบคุณมากๆเลยครัยสำหรับความรู้นี้
@aist1490
@aist1490 Жыл бұрын
อธิบายได้ชัดเจนเข้าใจง่าย ขอบคุณที่ทำคลิปให้ความรู้เดีๆแบบนี้
@sugizo19
@sugizo19 Жыл бұрын
ชอบที่คนไม่รู้เรื่องอะไรเรือดำน้ำ มาอธิบาย ให้ คนเข้าใจได้ครับ
@thammagitkhwanguer6301
@thammagitkhwanguer6301 Жыл бұрын
เห็นภาพตามเลยครับ ขอบคุณมากครับ วิเคราะห์ชัดเจน ได้ ความรู้ดีมากๆ
@Particles-Wipe_Universe
@Particles-Wipe_Universe Жыл бұрын
ขอบคุณที่มอบความรู้ให้ครับ 🙏🙏
@TardigradeSperm
@TardigradeSperm Жыл бұрын
เนื้อหาละเอียดมากเลยครับ :)
@clip2eye
@clip2eye Жыл бұрын
ข้อมูลละเอียดมากครับ อธิบายให้ฟังเข้าใจง่าย
@MrKlaow
@MrKlaow Жыл бұрын
สวัสดีครับ อธิบายได้ชัดเจนดีครับ เสียงพูด/ภาพคมชัดครับ ฟังแล้วคาดว่าจะเป็นเช่นนั้นครับ ประกอบกับแรงดันอากาศภายในที่ต้องคงที่ถึงทำให้มนุษย์อยู่ข้างในได้ ออกซิเจนก็สำคัญครับ
@montree8601
@montree8601 Жыл бұрын
วิเคราะห์ละเอียดดีมากครับ
@nopphawannowak4039
@nopphawannowak4039 Жыл бұрын
อธิบายเข้าใจได้มากขึ้น ขอบคุณค่ะ
@liveisnotbeautiful
@liveisnotbeautiful Жыл бұрын
ออกแบบเรือดำน้ำติดกาว epoxy เพื่อให้ทนแรงอัดขนาดหอไอเฟลกดทับ แล้วแรงอัดขนาดนั้นจะมีอะไรเหลือหรอ ใช้อะไรคิดให้เอาคนเข้าไปอยู่ด้านในได้
@sorryforeverything8350
@sorryforeverything8350 Жыл бұрын
คนฉลาดแบบท่าน คิดว่าต้องทำยังไงอ่ะ
@liveisnotbeautiful
@liveisnotbeautiful Жыл бұрын
@@sorryforeverything8350จะบอกให้ง่ายๆว่าคนฉลาดน้อยแบบท่านไม่ควรเขียนตอบใครไงหละ
@aquasdemarco7156
@aquasdemarco7156 Жыл бұрын
อธิบายดีมากๆเลยค่ะ
@sampanpanpanit7618
@sampanpanpanit7618 Жыл бұрын
หน้าพี่เหมือนศิลปินมาก คลิปสุดยอดมากกระจ่างเลย
@napas1982
@napas1982 Жыл бұрын
ดูคลิปตอนสร้างไททัน มีโครงสร้างโลหะบริเวณห้องโดยสาร บริเวณห้องผู้โดยสารทรงกระบอกทำจาก carbon fiber เรียงหลายชั้น ภายนอกสีขาวทำจาก fiber glass หรือเปล่าไม่แน่ใจ หัวท้าย เป็นโดมไทเทเนียม มีช่อง view spot อยู่ด้านหน้า ทำจากอาคิริก หนา โดมหัวท้ายยึดด้วยวงแวน และน๊อต ตัววงแวนคงจะยึดด้วยกาว เหมือนพี่บังบอกในคลิป ถ้าเป็นแบบนี้ ผมว่าจุดอ่อนของเรือเยอะเกินไป ขอแสดงความเสียใจกับผู้เสียชีวิตด้วยนะครับ
@user-bt2yw3nc7o
@user-bt2yw3nc7o Жыл бұрын
วิเคราะห์เหนภาพดีมากครับ❤
@wingspan9875
@wingspan9875 Жыл бұрын
สร้างเรือด้วยความมักง่ายและเอาประหยัดเข้าว่าโดยไม่ได้คำนวณค่า stress ทุกจุดของเรือ ออกแบบเหมือนคนไม่เคยเรียนฟิสิกส์หรือวิศวกรรมวัสดุ แถมจุดที่ทากาวก็ถือเป็นจุดที่มี "ความเครียดของวัสดุ" สูงมาก แต่ดันไปทำให้มันเปราะบาง ก็สมควรแล้วที่ยานมันจะเจอเหตุการณ์ implosion ใต้น้ำ
@jwonTh
@jwonTh Жыл бұрын
แปลกกว่านั้นคือมีคนยอมจ่ายแพงๆเพื่อไปเสี่ยงตายด้วย 😢😢😢😢rip
@user-hh7jq7po2f
@user-hh7jq7po2f Жыл бұрын
แปลกกว่านั้นมืงลงไปได้ไง8ครั้งแล้วมาพลาดครั้งที่9
@user-ij4lp6yk9p
@user-ij4lp6yk9p Жыл бұрын
​@@user-hh7jq7po2fมีโอกาสสูงครับ นึกภาพว่าปกติของเรือดำน้ำเขาจะใช้เหล็กเป็นส่วนประกอบ ขนาดมันเลยค่อนไปทางใหญ่ เพราะแต่ละลำหนา6นิ้วขึ้นไป แต่เรือไทมันจะโชว์เหนือโชว์ล้ำแต่ขาดการวิจัยที่ละเอียดรอบคอบ พูดง่ายๆ ทุนมันมีไม่สู้พวกงานวิจัยของแต่ละชาติอยู่แล้ว ดันเอาคาร์บอนมาใช้ผสมไทเทเนี่ยม มันแข็งกว่าเหล็กก้อจริง แจ่มันไม่สามารถยืดหยุ่นตัวมันเองได้ อย่างที่คุณว่าถึงจุดนึง มันก้อเหมือนหินที่แคร๊ก แข็งแต่แตกได้😊
@JaruwanNoppasao
@JaruwanNoppasao Жыл бұрын
ไม่จบวิศวะยังตะหงิดใจเลยนะจุดทากาวเนี่ย แบบ ห๊ะใช้กาวเชื่อมหรอ
@siriwanel
@siriwanel Жыл бұрын
อธิบาย ดีมากๆ ค่ะ👍😊🇸🇪
@Love-nl9uv
@Love-nl9uv Жыл бұрын
สุดยอดความรู้ค๊ะ👋👋👋
@Wut0923
@Wut0923 Жыл бұрын
มาดูคลิปนี้ กระจ่างขึ้นมามากเลย ไม่มีความปลอดภัยเอาสะเลย
@orangec.c7167
@orangec.c7167 Жыл бұрын
ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ🙏
@user-tj3du6ux3d
@user-tj3du6ux3d 11 ай бұрын
พิธีกร อธิบาย ด้วยความรู้ความสามารถ ล้วนๆ เก่งมากสุดๆ
@zolkorn
@zolkorn 11 ай бұрын
ขอบคุณมากครับ
@lzdteer8039
@lzdteer8039 Жыл бұрын
นึกถึงมือถือกันน้ำดี ๆ ที่อาจจะกันได้ 100% จุ่มน้ำตอนใหม่แกะกล่อง ใส่ถ่ายใต้น้ำได้8-10 ครั้ง คิดว่ากันได้ดีไม่เห็นเป็นไรเลย แต่เอาลงในรอบ11 ด้วยความชะล่าใจ สุดท้ายกลับบ้านเก่า ความชื้นเข้าศูนย์ไม่รับเคลม ความประมาทของผู้ใช้งานโดยแท้
@warinint
@warinint Жыл бұрын
ผมชอบแบบจำลองแกนทิชชู่ กับหัวขวดน้ำอัดลม เข้าใจง่ายมาก
@DrThai2
@DrThai2 Жыл бұрын
ตัวห้องทรงกระบอกน่าจะถูกบีบอัดอย่างที่ว่า เพราะโครงร่างไม่แข็งแรงพอ(นิ่มแต่เหนียว)ที่จะรับแรงดันใต้น้ำลึก 3.8 km ได้(ถึงวันหมดอายุพอดี) ทำให้อากาศที่ถูกบีบอัดภายในต้องหาทางออกในจุดที่อ่อนแอที่สุด คือ อะคริลิคใสด้านหน้า สภาพโดมหน้าหลังและวงแหวนซึ่งมีความแข็งแรงกว่าจึงยังคงสภาพเดิมอยู่ได้
@aimcool77
@aimcool77 Жыл бұрын
คาวบอยไฟเบอร์แข็งแต่ไม่เหนี่ยวครับ
@chowsirichaimannoi4661
@chowsirichaimannoi4661 Жыл бұрын
ขอบุคถณที่ให้วมรู้ เข้าใจได้ง่าย แต่ทรงไม่นาเป็นวิศวะ
@gaszilaa
@gaszilaa Жыл бұрын
เห็นแบบนี้แกจบ วิศวะ เพื่อน อู๋ spin9 นะ
@natachalee375
@natachalee375 Жыл бұрын
ช่องนี้เขาวิเคราะห์แบบจัดเต็มเกี่ยวกับไททันทุกคลิปเลย ดูแล้วคุ้มค่ามากก
@torthefirst6999
@torthefirst6999 Жыл бұрын
ไม่กินหมูแล้วดูฉลาดใช่ป่ะ?
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ
@natachalee375
@natachalee375 Жыл бұрын
@@torthefirst6999 เกี่ยวไรกับหมู ? 🙄
@user-du6yu9ss6t
@user-du6yu9ss6t Жыл бұрын
​@@torthefirst6999มึงจะสื่ออ่ะไรครับ?
@teecb4252
@teecb4252 Жыл бұрын
เก่งจังเลยครับ อ.จารย์
@VegetoExp626
@VegetoExp626 Жыл бұрын
เห็นด้วย แต่ยังสงสัยว่า จุดเริ่มของการพังลงจองโครงสร้างคาร์บอนไฟเบอร์ มันเกิดขึ้นพร้อมๆกันหลายๆส่วนเลย หรือว่ามาจากจุดเปราะบางที่สุดจุดเดียวก่อน จากนั้นค่อยแผ่ไปส่วนอื่นๆอย่างรวดเร็ว ทำให้แรงอัดจริงอาจจะเกิดขึ้นที่ด้านใดด้านหนึ่งของส่วนแกนกลางก่อน แล้วอัดสู่ภายในด้านอื่นๆและส่วนหัวท้าย ระหว่างนั้นความดันภายในที่สูงขึ้นทำให้เกิดการระเบิดจากก๊าซร้อนขยายตัวอีกครั้ง จนหัวท้ายระเบิดกระเด็นไป ส่วนผดส.ก็ถูกทั้งโครงสร้างและอากาศภายในอัดแหลกในชั่วเสี้ยววินาที และกระจายไปตามแรงระเบิดในชั่วเสี้ยววินาทีเหมือนกับตัวยาน
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
คือ มันเป็นไปได้หมดทุกทางละครับ เราสรุปแบบฟันธงไม่ได้หรอกครับ มันต้องรอซากยานจากทุกส่วนก้อนมันถึงจะบอกอะไรได้แบบชัดเจนมากขึ้น
@janzaa159
@janzaa159 Жыл бұрын
พี่ทำต่อนะครับ ซีรีย์นี้ได้ความรู้ด้วย
@user-eo4gq1sg2p
@user-eo4gq1sg2p Жыл бұрын
สุดยอดเลยครับบัง
@Ngamnit-co8wo
@Ngamnit-co8wo Жыл бұрын
แล้วสภาพการเสียชีวิตของผู้โดยสารละคะ (ขอสู่สุคติค่ะ)
@fghccvcbbtv
@fghccvcbbtv Жыл бұрын
เจ้าของ สร้างแบบลดต้นทุน ก่อนดำลงไปมีการเซ็น สัญญา ห้ามเอาผิด บริษัท ซึ่งหมายความว่ามันไม่รับผิดชอบนั้นเองเพราะว่ามันผลิตไม่ดี วิศวกรที่ออกแบบเรือ เขายังมาพูดเลยว่าเรือดำน้ำมันไม่ได้คุณภาพ ก็เลยโดนไล่ออกไปแต่ปี 20xxกว่าๆๆ เปิดเผยความลับว่าเรือดำน้ำไม่ได้มาตรฐาน
@hotty8534
@hotty8534 Жыл бұрын
คาร์บอนมันน่าจะถึงขีดความทน เพราะมันลงไปเป็น10ๆรอบ ตอนลงไปข้างล่าง โดนแรงบีบ ซ้ำแล้วๆ
@4rzt_fps2004
@4rzt_fps2004 Жыл бұрын
ชอบคอนเท้นท์แบบนี้ครับพี่บัง สู้ๆครับ
@chartho6455
@chartho6455 Жыл бұрын
ถ้าเป็๋นแบบที่บอก สยองมากนะครับ ศพคงน่าจะติดในดงหนามคาบอนไฟเบอร์ด้านในที่ระเบิดเข้ามา
@user-dn3by7dr4n
@user-dn3by7dr4n Жыл бұрын
แสดงว่าตัวที่เป็นแกนทิชชู่ที่ยังหาไม่เจอ ต้องมีศพถูบซากนี้บีบร่างอยู่ ใช่ใหมครับป๋า
@vekinkunrin7772
@vekinkunrin7772 Жыл бұрын
ขอบคุณครับมากครับ
@หมีรัสเซีย
@หมีรัสเซีย Жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@kinchostudio9734
@kinchostudio9734 Жыл бұрын
รอชมข้อมูล เพิ่มเติมนะครับ
@npc2442
@npc2442 Жыл бұрын
เห็นภาพเลยอธิบายดีครับ
@HelloCoala
@HelloCoala Жыл бұрын
เปรียบง่ายสุดก็อย่างที่บังบอก เหมือนเราขับรถเหยียบใจกลางขวดน้ำ ยุบจากตรงกลางทำให้ฝาหน้าและหลังกระเด็นออกเพราะแรงดัน แต่ก็ตายในเสี้ยววินาทีเหมือนเดิม ถ้ายานมันสั้นกว่านี้ ให้รูปร่างมันใกล้เคียงกับทรงกลมมากที่สุดก็จะทนแรงได้มากกว่านี้แน่นอน กระป๋องเบียร์สั้นๆบีบยากกว่ากระป๋องเบียร์ยาวๆ ก็คือเป็นความอวดอุตริของเจ้าของบริษัท วัสดุก็ไม่แข็งเกร็ง ถ้ามันลงไปแล้วกาวทนไม่ไหวโดนกดจนเสียรูปนิดเดียวก็บึ้ม อยากเอาคนเยอะๆไปดำน้ำ ไม่ทำตามสิ่งที่ควรทำ ก็สงสารน้องอายุ19นะ บ้านรวยซะเปล่าแต่อายุไม่ยืน มีเงินก็ซื้อชีวิตไว้ไม่ได้ ผมไม่ได้เรียนวัสดุศาสตร์มายังรู้ว่าไม่ควรใช้ carbon fiber เพราะสุดท้ายส่วนที่รับแรงจริงๆก็คือกาว epoxy ที่เป็นตัวเชื่อมประสาน พอกาวมันลงไปที่เย็นๆอย่างใต้น้ำมันอาจทำให้คุณสมบัติของตัวเองเปลี่ยนไป หรืออีกอย่างหนึ่งคือมันเป็นวัสดุคนละอย่างกับไทเทเนี่ยม แน่นอนดัชนีการหดตัวเมื่อเจอความเย็นและแรงดันไม่เท่ากันอยู่แล้ว epoxy+carbon fiber เจอเย็นแล้วหดจนแตกก็ยานบึ้มเหมือนกัน ว่าแต่อยากรู้เหมือนกันว่าเขาทำไมเอา carbon fiber มาหุ้ม คิดอะไรแปลกๆ อยากจะทำยานหลายๆลำเพื่อลดต้นทุนซะละมั้ง
@user-lo7mx5gh3j
@user-lo7mx5gh3j Жыл бұрын
ก็คงอยากลดต้นทุนส่วน1 และก็อยากมีชื่อเสียงเป็นคนแรกของโลกด้วยล่ะมั้งว่าเป็นผู้สร้างยานดำน้ำด้วยวัสดุดังกล่าวคนแรก เพราะเคยถูกบันทึกชื่อในกินเนสบุ๊ค/กินเนสเวิลด์หรือกินเนสอะไรสักอย่างนี่แหละ555 เหมือนว่าถูกบันทึกมา2-3รายการแล้วมั้งเขาก็คงอยากถูกบันทึกเรื่อยๆล่ะมั้งดูทรง
@MamiPoggo
@MamiPoggo Жыл бұрын
มันมีสัตว์ยักษ์ใต้ทะเล แน่ๆครับที่เรายังไม่ค้นพบพวกมัน กันมาเจอไฟพอดี มันเลยทำร้ายเรือ เป็นไปได้ไหม
@XEG99982
@XEG99982 Жыл бұрын
แล้วร่างกายมนุษย์เป็นของเหลว คงแบบ น้ำกระฉุดเป็นสีแดง
@XEG99982
@XEG99982 Жыл бұрын
@@MamiPoggo เป็นไปได้ครับถ้าเราดูหนังเยอะๆ
@lenkakch
@lenkakch Жыл бұрын
ไททาเนียมมันทำหน้าที่ของมันสุดๆแล้วมันทำดีแล้วแบกเรือลงมาได้ 12 ครั้ง
@Crazykidsz
@Crazykidsz Жыл бұрын
จากการวิเคราะห์แล้ว ผมว่าซากมันสามารถซ่อมกลับมาใช้งานได้ใหม่โดยใช้ มาม่ากับกาวร้อน
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
5555
@nonstop2many
@nonstop2many Жыл бұрын
อธิบายดีมากครับ ถ้ามีข้อมูลเพิ่มข่าวนี้ทำอีกนะครับ
@boyboyguy1
@boyboyguy1 Жыл бұрын
ตายไปพร้อมความมั่นใจของตนเอง ว่าเรือ ดีจริง
@user-lo7mx5gh3j
@user-lo7mx5gh3j Жыл бұрын
แถมพาคนอื่นไปตาย ใครทักท้วงทัดทานว่ามันไม่ผ่านมันไม่ได้มาตรฐานก็ดูขวางตาไปซะหมด
@barneyross8382
@barneyross8382 Жыл бұрын
ดีเเล้วครับ ที่เจ้าของตายไป ขืนยังมีชีวิตอยู่ โดนหน่วยงานรัฐ เล่นหนักเเน่ ถึงเเม่จะ มีการทำสัญญาห้ามฟ้องบริษัท เเต่หน่วยงานรัฐ ก็มีสิทธิ์จัดการดำเนินคดี เรื่องอื่นๆอยู่ดี
@kifinz8737
@kifinz8737 Жыл бұрын
เอาตรงๆคนที่ลงไปด้วยก็มั่นใจนั้นแหละระดับ ceo มาขับเอง ceo ก็มั้นใจเกินเหตุ
@phunaituk2086
@phunaituk2086 Жыл бұрын
สุดยอด
@sarijunya5308
@sarijunya5308 Жыл бұрын
วิเคราห์ได้ดีมาก สมเหตุและผลครับ
@ongsaphimyotha1632
@ongsaphimyotha1632 Жыл бұрын
ขอขอบคุณ
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@ThxCom
@ThxCom Жыл бұрын
บังวิเคราะห์โคตรเพลินเลย
@user-jw7sl9iu8w
@user-jw7sl9iu8w Жыл бұрын
บอกตรงๆผมเรียนวิศวกรรมต่อเรือ ยานลำนี้ออกแบบได้งงมากๆไม่เข้าใจเขาคิดอะไรอยู่ที่เอาชีวิตตัวเองไปฝากกับยานเลโก
@user-gk7nh8ni7p
@user-gk7nh8ni7p Жыл бұрын
ต่อเรืออะไร
@sittipolchangmai5470
@sittipolchangmai5470 Жыл бұрын
อันตรายมาก แรงดันขนาดนั้น😮
@titisuksawadi
@titisuksawadi Жыл бұрын
เข้าใจง่าย ใช้ภาษาเรียบง่ายเหมือนเพื่อนบ้านคุยกัน ชอบๆ
@MakerCustoms
@MakerCustoms Жыл бұрын
ถูกต้องตรับ
@tinnagronvramusik982
@tinnagronvramusik982 Жыл бұрын
ทำไมไม่คิดจะงมเรือสุโขทัย?จะซื้อใหม่รึ?
@theway-6864
@theway-6864 Жыл бұрын
ต้องไปนั่งร้านน้ำชา จะนะ วิเคราะห์ต่อแล้วครับ
@Mininggg
@Mininggg Жыл бұрын
ชอบมากค่ะ การวิเคราะห์แบบนี้ เพราะดูจากการกู้ซาก ก็พบว่า ชิ้นมันยังดูใหญ่ๆอยู่เลย คือเชื่อได้ว่า เป็นซากของเรือไททันจริงๆ
@wichaichaekhachad3256
@wichaichaekhachad3256 Жыл бұрын
จากคำอธิบาย ก็น่าจะ เป็นความประมาท ของทีมวิศวกร ที่ลืมประเมินว่า มันเดินทางลงไปหลายรอบ เป็นไปได้ ที่ส่วนโดม ลำตัว ที่จะหลุดจากวงแหวน จากข้อต่อ จากแรงบีบมหาศาล จากที่ใช้งานหลายรอบ เพราะว่า ถ้า จะ ปลดระวาง สร้างใหม่ ต้นทุนการผลิต มหาศาล ก็มีข่าวว่า มี วิศวกร ที่โดนปลด ก่อนหน้าที่จะปฎิบัติภาระกิจ ลงไป ใต้น้ำ แย้งว่า มันไม่ปลอดภัย เนื่องจากเคยลงไปหลายรอบแล้ว
@Second-Knowledge
@Second-Knowledge Жыл бұрын
เอาโลหะ มาติดกาวกับคาร์บอนไฟเบอร์นี่นะ
@kamon765
@kamon765 Жыл бұрын
มองเห็นภาพเลย ค่ะ ดีกว่าจารอ๊อดเยอะ อธิบายคีย์บอร์ดระเบิดซะเสียวิชาที่เรียนมา😂😂😂😂
@anglomutoo
@anglomutoo Жыл бұрын
บังเอิญจริงๆ กับการดำครั้งที่ 13
@user-rv1gl2tg6s
@user-rv1gl2tg6s Жыл бұрын
วิเคราะห์ได้ดีไม่ผิดทุกคนมีสิทธิ์คิดทำให้เรารู้คิดวิเคราะห์แยกแยะลำดับเหตุการณ์ได้ดีสนุกครับ
@ramlee1795
@ramlee1795 Жыл бұрын
ในคัมภีร์อัลกุรอ่าน ได้กล่าวว่า : " คำสั่งเดียวของพระองค์เมื่อพระองค์ทรงประสงค์คือตรัสกับสิ่งนั้นว่า " จงเป็น และสิ่งนั้นก็คือ เป็นเลย (82) มหาบริสุทธิ์ในพระหัตถ์ของพระองค์คืออาณาจักรแห่งสรรพสิ่งและพระองค์กลับคืนสู่พระองค์ หนึ่ง " ( 83).
@jakgaponnonthamit9274
@jakgaponnonthamit9274 Жыл бұрын
ช๊อคยังไงการใส่ กาวEpoxy มีใช้ทุกวงการ โครงการก่อสร้างถ้าระยะทาบต่อเหล็กไม่ได้ก็ใช้วิธีเจาะเสียบแล้วใช้ กาวEpoxy ยึด
@sutatsinohydro-itd.jv.6876
@sutatsinohydro-itd.jv.6876 Жыл бұрын
ถ้าใช้ไทเททั้งลำยึดด้วยน๊อตเลส น่าจะไม่บึ้ม อันนี้น่าจะไร่เบามากเกินไป เลยเสี่ยงเกินไป ถ้าดีจริง เครื่องบินคงเอาคาบ้อนไฟเบอร์ทำทั้งลำแล้ว ลงครั้งแรกครั้งสองครั้งรอดมาได้ แต่พอครั้งต่อไปคงมีรอย crack สะสมเพิ่มขึ้นเลื่อย ๆ แล้วพอลงไปอีกรอบต่อๆไปเลยบึ้มเลยงานนี้ เข้าใจครับ ผมก็ชอบแนวแบบนี้เช่นกันครับ
@sumatesayump11
@sumatesayump11 Жыл бұрын
ทากาว คิดได้ไง วัสดุ 3 ชนิด ขยาย/หดตัวไม่เท่ากันอยู่แล้ว พังอย่างเดียว
@barbin85
@barbin85 Жыл бұрын
ช่วงเวลาที่เขาคาดการณ์ว่าระเบิดมันยังไม่ถึงระดับที่ไททานิคนอนอยู่นี่ครับ แรงดันมันก็ต้องไม่ใช่ระดับไททานิคนอนอยู่ เพราะลงไปไม่นานมันก็ขาดการติดต่อแล้ว ให้คำแนะนำผมด้วยถ้าผมเข้าใจผิดตรงไหนอ่ะ
@pfuu7733
@pfuu7733 Жыл бұрын
คาร์บอนไฟเบอร์มันยืดหยุ่นให้ตัวได้ ของที่ยืดหยุ่นให้ตัวถ้าใช้กาวติดยังไงกาวมันต้องหลุดสักวันอยู่แล้วไม่ช้าก็เร็วแถมยังโดนแรงกดมหาศาลอีก
@MamiPoggo
@MamiPoggo Жыл бұрын
มันมีสัตว์ยักษ์ใต้ทะเล แน่ๆครับที่เรายังไม่ค้นพบพวกมัน กันมาเจอไฟพอดี มันเลยทำร้ายเรือ เป็นไปได้ไหม
@PuttamahamuneesriyodphalokKrun
@PuttamahamuneesriyodphalokKrun Жыл бұрын
No,
@sitthipornngencharoen3325
@sitthipornngencharoen3325 Жыл бұрын
เป็นไปได้สุงครับ
@user-zj1lj5ti8v
@user-zj1lj5ti8v Жыл бұрын
บังนี่ครบรสจริงๆครับ 🥰
@mukmuksurin7370
@mukmuksurin7370 Жыл бұрын
ภายในควรมีเสาคาน เสริมรับเเรงกด ทรงกลม จะดีกว่า ทรงนี้
@tharadol6153
@tharadol6153 Жыл бұрын
ชัดเปี๊ยะเลยเพี๊ยะเฮ้ยยย
@Panapana28
@Panapana28 11 ай бұрын
น็อตฝาหน้า ผมว่า เขาคงไม่ฝากชีวิตไว้กับน๊อตเบอร์10หรือ12หรอกครับขันนิดๆหน่อยๆก็ขาดแล้ว ดูๆไปอาจเป็นน็อตเบอร์19-24ด้วยซ้ำ เผลอๆอาจเป็นเบอร์30นู้นเลย แต่น็อตที่ฝาก็น้อยไปอย่างว่านั่นแหละครับ
@asss3714
@asss3714 Жыл бұрын
พี่อธิบายได้ชัดเจนมากเลยครับจนผมจินตนาการภาพออกเลยครับ
@user-qh6cw4tn6d
@user-qh6cw4tn6d Жыл бұрын
เป็นการคาดเดาที่มีเหตุผลมีความเป็นไปได้สูง 👍👍😁
@magicianjib
@magicianjib Жыл бұрын
ข้อมูลดีงาม อธิบายเข้าใจง่ายดีครับ แต่มีส่วนที่อยากเติม ผมอยากแนะนำให้ดูที่ 9อาร์ม ได้พูดไว้ครับ พวกกาว พวกน็อต มันไม่ได้ใช้ของง่อยๆนะ (แต่ก็นั่นแหละ ไม่ได้ดีอยู่ดี) พอรวมกับข้อมูลที่ช่องนี้มี ผมรู้สึกว่ามันสมบูรณ์ขึ้น เห็นจากซาก ก็พอจะเดาๆเหตุที่เกิดได้หน่อยๆแล้วว่ามันโดนบีบแบบไหน หลังจากฟังมาสองสามช่อง ก็เริ่มรู้ที่มาที่ไปและความเป็นไปได้เพิ่มมากขึ้น รอสรุปจาก ข่าวหลักอีกที พวก CG อธิบาย 11.50 เกลียดเสียงเอฟเฟค 5555
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
เข้าใจครับ เรื่องน้อต กาว แต่หลักๆเขาคิดไว้สำหรับรับแรงกดเป็นหลักไงครับ แต่ประเด็นจริงๆคือ พอมีรอยต่อและรอยต่อดันต่อด้วยกาว มันเลยกลายเป็นจุดอ่อนไงครับ
@magicianjib
@magicianjib Жыл бұрын
@@zolkorn ใช่ๆ คือสุดท้ายแม่งก็โคตรแย่อยู่ดี ทำแบบไม่เห็นชีวิตคนมีคุณค่าเลย
@Artisttsitra
@Artisttsitra Жыл бұрын
ถ้าทำด้วยเหล็กหรือสเตนเลสทั้งตัวน่าจะไม่ระเบิดอย่างนี้
@siriphat8moraruang8-wc1fg
@siriphat8moraruang8-wc1fg Жыл бұрын
งั้นผมก็เดาบ้างว่า คนห้าคน น่าจะรับรู้ได้บ้างในเสี้ยววินาทีนั้นแน่ๆ ผมคิดว่าศพน่าจะไม่ได้เป็นผุยผง แต่เป็นชิ้นๆ แต่ไหลไปตามใต้กระแสน้ำลึก
@PuttamahamuneesriyodphalokKrun
@PuttamahamuneesriyodphalokKrun Жыл бұрын
สัตว์ใต้น้ำลึกคาบเอาไปกินหมดแล้วป่านนี้
@UmaphonAschenbrenner
@UmaphonAschenbrenner Жыл бұрын
@@PuttamahamuneesriyodphalokKrunบ่งบอกถึงสติปัญญาของคนไทยคิดได้แค่นี้ไม่ต้องมีไรคาบไปแดกหรอก แค่โดนระดับน้ำขนาดนั้นก็ไม่เหลือแล้ว
@rock3819
@rock3819 11 ай бұрын
​@@UmaphonAschenbrennerถ้าเป็นแบบที่คุณว่าคงไม่มีสัตว์น้ำอยู่ได้หรอก
@csccsc543
@csccsc543 Жыл бұрын
ไม่มีกล้องติดรึได้หัวมา น่าจะมีกล้องอัดเสียงภาพไว้
@march7029
@march7029 Жыл бұрын
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
@user-pf8cn9nd1m
@user-pf8cn9nd1m Жыл бұрын
วิเคราะเห็นว่าเป็นไปได้มากเขาไม่เปิดไห้เห็นส่วนกลางนั้นหรอกมันจะเสียคำว่านักวิชาการหรือดอกเตอร์นี้คือความมักง่ายนี้แหละอุปกรต่างๆเขาถึงมีการรับประกันกี่ชั่วโมงกี่ปีและ(ตลอดอายุการไช้งานแต่ก่อนมีเดียวนี้ไม่มีแล้ว)หัวกะทิตายนำ้ตื้น😢
@kln002
@kln002 Жыл бұрын
น่าจะฉีกตรงขอบวงแหวนไทเทที่สวมกับคาบอน กลายเป็นตรงนั้นเป็นส่วนที่บางที่สุด
@suriyaraksilp7487
@suriyaraksilp7487 Жыл бұрын
เห็นรูปทรงกระบอกก็รู้แล้ว ไม่น่ารับแรงดันลึกขนาดนั้นไหว ลงลึกขนาดนั้นควรใช้ทรงกลม ขนาดจุได้แค่ 1 คนพอ แรงดันมาทุกทิศทาง ทรงกลมรับแรงแบบนั้นได้ดีที่สุด
@ITFunFun
@ITFunFun Жыл бұрын
โดนงับ
@pairpairjung
@pairpairjung Жыл бұрын
วงแหวนที่ฉีกออกน่าจะเป็นจุดที่ระเปิดแล้วแรงดันลมออกตรงนั้นรึเปล่า เพราะไม่น่าจะมีอะไรทำให้มันฉีกออกมาได้
@ppp-xw7lp
@ppp-xw7lp Жыл бұрын
คิดได้ไงเอากาวทา ยังกับของเด็กเล่น
@soloman5807
@soloman5807 Жыл бұрын
วงแหวนควรจะมีเยอะกว่านี้ ตรงกลางลำไม่มีเลย การประกบฝาโดมก็ประกบแบบเรียบชนเรียบ ริงควรจะมีขอบรับฝาโดมกันฝาเคลื่อนหนีศูนย์เมื่อเจอแรงดัน
@mgg41
@mgg41 Жыл бұрын
เรือดำน้ำ DIY ชัดๆ😂
@4nythingSimple
@4nythingSimple Жыл бұрын
จะเหมือนที่เล่นตอนเด็กบิดขวดน้ำแล้วหมุนฝาออก
@anutong391
@anutong391 Жыл бұрын
รอบที่ 13 ซะด้วย มันอาจจะมีพลังงานบางอย่างก็เป็นด้ายยยยยยยย
@egch1yearago21
@egch1yearago21 Жыл бұрын
คาร์บอนไฟเบอร์ กระบวนการผลิตไม่ได้หลอมขึ้นรูปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติความแข็งแรงได้เหมือนโลหะ เข้าใจว่าน้ำหนักเบา แข็งแรงพอสมควร แต่เมื่อใช้งานผิดประเภทมันมีโอกาสล้าสะสมในเนื้อวัสดุได้
@burgerr.5599
@burgerr.5599 Жыл бұрын
ดูไปดูมาเหมือนแท็งเก็บน้ำฝนยึดน็อตแบบนี้เลย แท็งสี่เหลี่ยมสมัยก่อน
@Thanathoz
@Thanathoz Жыл бұрын
ว่ากันตรงๆถ้ามันแย่จริงๆแบบที่ออกข่าวมานี่เรือนี่ก็ทนทนกว่าที่มันจะทำได้ตามหน้ากระดาษไปไกลมากเลยนะ เห็นว่าใช้งานไปกว่า10ครั้งเลย
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
ใช่ครับ ถือว่าทนกว่าที่คิด แต่ของมันมีอายุการใช้งานไงครับ และออกแบบมาไม่เคยมีการทดสอบแบบจริงจัง เสร็จแล้วมาใช้งานเลย
@joeylonding1559
@joeylonding1559 Жыл бұрын
เรื่องน๊อตผมว่า น่าจะใหญ่กว่า 12 นะครับ ดูรูปเทียบกับนิ้วคน น่าจะ 17-19 เลยละครับ
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
ได้คำตอบละครับ เบอร์ 21 ครับ
@joeylonding1559
@joeylonding1559 Жыл бұрын
@@zolkorn ใหญ่กว่าที่คิดอีกนะครับ แต่มันก็ขาดแล้วจริงๆ 😂
@weerasaksit9419
@weerasaksit9419 Жыл бұрын
ถ้าทิ้ง rolex ตัวกันน้ำลึกลงไป อะไรจะเกิดขึ้น
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
หายครับ หาไม่เจอ 😂
@user-xl8yt5nb5j
@user-xl8yt5nb5j Жыл бұрын
น็อตรอบโดมเขาใช้น็อตเบอร์21ครับบบบ
@zolkorn
@zolkorn Жыл бұрын
รับทราบครับ
@wasuwat2429
@wasuwat2429 Жыл бұрын
ทฤษฎีนี้ชัดเลยครับบัง รอชมผลจากusa ว่าจะมาทางเดียวกันรึป่าว
DO YOU HAVE FRIENDS LIKE THIS?
00:17
dednahype
Рет қаралды 64 МЛН
아이스크림으로 체감되는 요즘 물가
00:16
진영민yeongmin
Рет қаралды 3,1 МЛН
Haha😂 Power💪 #trending #funny #viral #shorts
00:18
Reaction Station TV
Рет қаралды 16 МЛН
КАРМАНЧИК 2 СЕЗОН 7 СЕРИЯ ФИНАЛ
21:37
Inter Production
Рет қаралды 495 М.
เรือดำน้ำ Titan
1:00:38
9arm
Рет қаралды 2,3 МЛН
iPhone 16 с инновационным аккумулятором
0:45
ÉЖИ АКСЁНОВ
Рет қаралды 3,2 МЛН
ОБСЛУЖИЛИ САМЫЙ ГРЯЗНЫЙ ПК
1:00
VA-PC
Рет қаралды 247 М.