โรคข้อเสื่อม กระดูกเสื่อม

  Рет қаралды 117,479

Doctor Tany

Doctor Tany

Жыл бұрын

สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

Пікірлер: 602
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
โรคข้อเสื่อม #Osteoarthritis ความเสี่ยง การดูแลรักษา สวัสดีครับ วันนี้ผมจะมาเล่าเกี่ยวข้องกับเรื่องของโรคข้อเสื่อมนะครับ โรคนี้มันเป็นโรคที่พบค่อนข้างบ่อยโดยเฉพาะคนที่อายุมากขึ้นนะครับแล้วมันมีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆอะไรบ้างที่เราจำเป็นจะต้องทราบ รวมทั้งว่าเราจะดูแลรักษาตัวเองอย่างไรเมื่อเรามีภาวะข้อเสื่อมหรือเรากำลังจะเกิดอาการข้อเสื่อมนะครับ พบกับผมนะครับ นายแพทย์ธนีย์ ธนียวันนะครับ เป็นอาจารย์แพทย์อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เชี่ยวชาญโรคปอด การปลูกถ่ายปอด และวิกฤตบำบัดนะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
1️⃣ สำหรับโรคข้อเสื่อมนั้นประสาททางการแพทย์เราเรียกมันว่า Osteoarthritis นะครับ คำว่า Osteo เนี่ยมันแปลว่ากระดูกแข็ง Arthritis นะครับมันแปลว่าข้ออักเสบนะครับ แต่ว่าจริงๆแล้วเนี่ยภาวะนี้นะครับมันไม่ได้มีการอักเสบของข้อนะครับแต่ว่าเวลาเราเรียกภาษาทางการแพทย์เรามันมันแปลได้ว่าเป็นการเกิดข้ออักเสบนั่นเองแต่จริงๆมันไม่ได้เกิดการอักเสบนะครับอันนี้อาจจะทำให้เรางงได้บ้างแต่ว่าก็อันนี้ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าภาษานี้มันมาจากไหนถึงบอกว่ามันเป็นการอักเสบแต่คาดว่าสมัยก่อนนะครับตอนที่เรายังมีวิวัฒนาการไม่ค่อยเยอะเท่าไหร่ในทางการแพทย์เราเห็นว่าข้อมันปวดนะครับเราก็เลยเรียกมันว่าข้ออักเสบน่าจะเป็นอย่างนั้นซะมากกว่านะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
2️⃣ เรามาเข้าเรื่องกันเลยดีกว่า ข้ออักเสบนั้นมันเป็นได้ทุกข้อในร่างกายเลยนะครับ ได้ทุกข้อเลยนะครับ แต่ว่าข้อที่เรามักจะเจอกันบ่อยๆนะครับก็ยกตัวอย่างเช่นข้อเข่านะครับ ข้อสะโพก ข้อมือนะครับ แล้วก็พวกนิ้วต่างๆนะครับ พวกเนี้ยจะเป็นข้อที่เจอได้บ่อยนะครับ แต่ข้ออื่นๆเราก็เจอได้เช่นกระดูกสันหลังส่วนต่างๆไม่ว่าจะเป็นส่วนคอส่วนเอวส่วนไหนก็แล้วแต่นะครับ ข้อไหล่ก็เจอได้นะครับ ข้อศอกก็เจอได้ ข้อเท้าแล้วก็นิ้วเท้าก็เจอได้เช่นกันนะครับ แต่ว่ามันอาจจะเจอไม่บ่อยนะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
3️⃣ ทีนี้อะไรล่ะที่ทำให้มันเกิดปัญหาแบบนี้ขึ้นมานะครับ? ➡️ข้อเสื่อมนี่แหละครับเหตุผลที่มันเสื่อมมันเป็นเพราะว่าเรามีการบาดเจ็บเล็กๆน้อยๆอยู่เป็นประจำนะครับเรา อาจจะไม่รู้ตัวอาจจะเป็นการกระทำที่ผิดท่านะครับ อาจจะเป็นหน้าที่การงานของเราที่เราใช้งานข้อนั้นบ่อยๆนะครับ ทำให้มันเกิดการบาดเจ็บเล็กๆๆไปเรื่อยๆนะครับแล้วทีนี้ข้อของเราเนี่ยมันไม่สามารถซ่อมแซมตัวเองได้นะครับมันก็เลยเกิดการเสื่อมของข้อนะครับ
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
4️⃣ โดยในตัวข้อของเราเนี่ยนะครับมันจะมีกระดูกอ่อนอยู่นะครับ (นาที 2.23)สมมุติว่าอันนี้กระดูกชิ้นหนึ่งและนี่กระดูกอีกชิ้นหนึ่งแล้วตรงกลางเป็นข้อนะครับ ข้อของเราเนี่ยควรจะงอได้แบบนี้ถูกไหมครับ ส่วนปลายของกระดูกแข็งทั้ง 2 อันจะมีกระดูกอ่อน แล้วระหว่างกระดูกอ่อนก็จะมีน้ำไขข้อเพื่อเป็นตัวหล่อลื่นให้ข้อมันเคลื่อนไหวอย่างนี้ได้นะครับ ทีนี้ถ้าเกิดตัวกระดูกอ่อนที่มันเคลือบกระดูกของเราอยู่เนี่ยมันเสียไปมันบางไป นั่นแหละครับมันก็จะทำให้เกิดปัญหาก็คือข้อเสื่อมนะครับตามมาได้
@thisisnathathai
@thisisnathathai Жыл бұрын
5️⃣ ข้อเสื่อมแล้วมันมีปัญหายังไงตามมานะครับ? ➡️คนเรานะครับเวลาข้อเสื่อมเนี่ยอาการที่เราเจอบ่อยๆแน่นอนว่ามันเจ็บนะครับ มันเจ็บได้ แต่บางคนก็ไม่มีอาการใดๆทั้งสิ้นนะครับ อาการเจ็บนี้จะเป็นอาการที่เราเจอได้เยอะที่สุดแล้วก็เป็นเหตุผลที่คนมาหาหมอมากที่สุดเวลาที่มีข้อมันผิดปกตินะครับ อาจจะมีบางคนที่รู้สึกว่าข้อมันขัดโดยเฉพาะตอนเช้านะครับ หรือว่าถ้าเราไม่ได้เคลื่อนไหวมานานๆมันจะขัดมันจะรู้สึกว่ามันเคลื่อนไหวไม่ค่อยสะดวกนะครับ จะเป็นอยู่สักประมาณไม่เกิน 30 นาทีนะครับส่วนใหญ่ประมาณสักไม่กี่นาทีมันก็จะเคลื่อนไหวได้ตามปกติ แต่ถ้ามันนานเกิน 30 นาทีอันนี้เราต้องสงสัยเรื่องของข้ออักเสบจากโรคอื่นๆแล้วนะครับ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
คลิปใหม่มาแล้วค่ะ... หัวข้อวันนี้ คือ... โรคข้อเสื่อม #Osteoarthritis ความเสี่ยง การดูแลรักษา ◾โรคข้อเสื่อม เป็นโรคที่พบได้บ่อยที่สุดในบรรดาโรคข้อทั้งหลาย มักพบได้ในคนมีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป เกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนที่บุปลายกระดูกข้อ เป็นเหตุให้ผิวของกระดูกอ่อนเปลี่ยนสภาพจากผิวเรียบมันกลายเป็นผิวขรุขระ เป็นผลให้ข้อมีการติดขัดเวลาเคลื่อนไหว เกิดความเจ็บปวด ◾โรคข้อเสื่อมจะเกิดกับส่วนใดของร่างกายได้บ้าง?... ข้อเสื่อมเกิดได้เกือบทุกแห่ง มักพบกับข้อใหญ่ ๆ ที่มีการเคลื่อนไหวมากหรือข้อที่รับน้ำหนักมาก เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า ข้อกระดูกสันหลังและกระดูกคอ ◾ปัจจัยอื่นๆที่เพิ่มความเสี่ยง ได้แก่ การบาดเจ็บ, อายุที่มากขึ้น, คนอ้วนน้ำหนักเกิน น้ำหนักที่มากจะทำให้ข้อรับน้ำหนักมาก ทำให้ข้อนั้นๆ เสื่อมเร็วขึ้น, ผู้ที่มีโรคกระดูกพรุน, ผู้ที่มีอาชีพที่ต้องยืนหรือเดินเป็นประจำ, เพศหญิงมีโอกาสเกิดข้อเสื่อมได้มากกว่าเพศชาย เนื่องจากความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนื้อน้อยกว่าเพศชาย, กรรมพันธุ์, ยา หรือสารเคมีบางอย่าง ◾การดูแลรักษา วิธีแรกที่ทำได้เอง คือ 1. ลดน้ำหนัก ออกกำลังกายกล้ามเนื้อขา สร้างเสริมการทรงตัว 2. การใช้ยา ยาที่แนะนำ คือ ยา NSAIDs แบบทา เช่น ไดโคลฟีแนค หรือ โวลทาเรนเจล... อีกตัวหนึ่งที่ได้ผลดีมาก คือ เจลพริก ซึ่งมีสารแคปไซซินซึ่งเป็นสารสำคัญจากพืชจำพวกพริกมีฤทธิ์ในการบรรเทาอาการปวดได้ โดยทาบางๆบริเวณที่ปวด... หากไม่ได้ผล ต้องใช้ยา NSAIDs แบบกิน แต่ย้ำว่า ก็มีปัญหาได้ เช่น ยาไอบูโพรเฟ่น, นาพรอกเซ่น, ไพรอกซิแคม, มีลอกซิแคม, เซเลคอกซิก, อีโตริคอกซิบ, อาร์คอกเซีย มีข้อควรระวังในคนที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมัน โรคหัวใจ โรคไต อาจทำให้โรคแย่ลงได้ ดังนั้น แนะนำให้ทานยาเหล่านี้ให้น้อยที่สุด ทานเพื่อบรรเทาอาการเท่านั้น... ยาที่ไม่ได้ผล คือ ยาพาราเซตามอล (ไทลินอล ซาร่า บาคามอล มายมอล พาราแคป ฯลฯ) ◾อาหารเสริมต่างๆ เช่น คอลลาเจน กลูโคลซามีนซัลเฟต ไฮยาลูโลนิกแอซิด ฯลฯ แต่ก็ยังมีความขัดแย้งในงานวิจัยอยู่ ดังนั้น อาจจะต้องสังเกตตัวเองว่า ท่านทานแล้วดีขึ้นหรือไม่ ถ้าทานแล้วดีขึ้นก็ถือว่า ดี ทานต่อได้ แต่ถ้าไม่ได้ผลอะไรไม่ต้องทานต่อจะดีกว่าค่ะ ◾การฉีดสเตียรอยด์เข้าข้อ อาจจะช่วยลดอาการปวดแค่ชั่วคราว แต่ผลข้างเคียงคือ ทำให้ข้อเสื่อมเร็วยิ่งขึ้น ดังนั้น จะแนะนำให้ฉีดไม่เกิน 3-4 ครั้งต่อปี และเหมาะสำหรับคนที่มีอาการเยอะเท่านั้นค่ะ ◾การฉีดสารหล่อลื่นไฮยาลูโรนิกเข้าไปในข้อเพื่อให้ข้อเข่าเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น แต่ในทางการแพทย์ไม่ได้ผลค่ะ ◾การฉีด PRP หรือ Platelet Rich Plasma เพื่อบรรเทาอาการอักเสบของโรคข้อเข่าเสื่อม วิธีนี้ก็อาจจะได้ผลบ้างไม่ได้ผลบ้าง จริงๆก็ไม่แนะนำแต่หากฉีดแล้วดีขึ้นก็โอเคค่ะ ◾แนะนำใช้อุปกรณ์ช่วยพยุง เช่น ไม้เท้า เพื่อป้องกันการล้ม ส่วนอุปกรณ์อีกตัวหนึ่ง คือ เครื่องช่วยพยุงเข่า (Knee brace หรือ Knee orthoses) เหมาะสำหรับคนที่ขาโก่ง ซึ่งจะช่วยลดอาการบาดเจ็บได้ สำหรับคนที่มีปัญหาบริเวณนิ้วโป้ง แนะนำให้ใช้ Splint หรือ เฝือกดามนิ้วไว้ไม่ให้เคลื่อนไหว ◾การผ่าตัด ซึ่งมีหลากหลายแบบ เรื่องนี้แนะนำคุยกับคุณหมอกระดูกและข้อ เช่น เปลี่ยนข้อไหล่ เปลี่ยนข้อสะโพก เปลี่ยนข้อเข่าทั้งหมด ซึ่งคุณหมอจะประเมินคนไข้ก่อนผ่าตัดว่า จะกลับมาดีขึ้นหรือไม่ นอกจากนี้อาจจะมีการซ่อมข้อเฉพาะจุด เชื่อมข้อนิ้ว ดังนั้น แนะนำให้คุยกับคุณหมอให้ชัดเจนค่ะ
@kitjapapamonmanop2033
@kitjapapamonmanop2033 Жыл бұрын
ขอบพระคุณ คุณหมอมากนะค่ะ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
@@kitjapapamonmanop2033 😘😘😘
@radda2243
@radda2243 Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะคลิปนี้ตรงตัวอีกละค่ะข้อเข่าเสื่อมนิ้วมือล็อคเกือบทั้งสองมือนิ้วเท้าโป้งโปรทั้งสองข้างหมอนรองกระสันหลังทับเส้นหมอที่รักษาอยู่ก็แนะนำตามคลิปเลยค่ะขอให้เจริญๆค่ะ
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
@@radda2243 ยินดีค่ะ ขอบคุณมากค่ะ
@user-gv7mc7qe2q
@user-gv7mc7qe2q Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับ😍
@sukanyaputhapitak909
@sukanyaputhapitak909 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ
@pawadeejmk6983
@pawadeejmk6983 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอ
@boonnumlym6708
@boonnumlym6708 Жыл бұрын
ขอบคุณครับ
@poona299
@poona299 4 ай бұрын
ขอบคุณค่ะอาจารย์
@sangduanbarnes6102
@sangduanbarnes6102 Жыл бұрын
Thank you!
@user-ch9jw9iv6u
@user-ch9jw9iv6u 4 ай бұрын
❤ขอบคุณครับ❤
@pompompom7971
@pompompom7971 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะ🙏
@walaiwongkaeo2440
@walaiwongkaeo2440 Жыл бұрын
ขอบพระคุณค่ะ
@prapeepoungpet5867
@prapeepoungpet5867 11 ай бұрын
ขอขอบคุณ
@user-km2xf4gz9o
@user-km2xf4gz9o 9 ай бұрын
ขอบคุณมากนะคะ
@user-gj3ny6qh3y
@user-gj3ny6qh3y Жыл бұрын
ขอบคุณคะ
@penpaknunthirapakorn9118
@penpaknunthirapakorn9118 Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอค่ะ
@tumzthedog9309
@tumzthedog9309 Жыл бұрын
ขอบคุณครับอาจารย์♥
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
ที่แน่ๆคือการพยายามออกกำลังที่ช่วยสร้างกล้ามเนื้อและเน้น mobility ก่อนที่กล้ามเนื้อจะลดลงตามอายุครับ
@Pa_Nu
@Pa_Nu Жыл бұрын
ขอขอบคุณ👍🙏🍀
@SFung-hv2ov
@SFung-hv2ov Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอแทน
@user-qu8rb6em8q
@user-qu8rb6em8q Жыл бұрын
ขอบคุณขอบคุณขอบพระคุณค่ะ
@komsonchokdee535
@komsonchokdee535 Жыл бұрын
ขอบพระคุณครับ🙏
@16072513
@16072513 9 ай бұрын
ขอบคุณมากค่ะ
@user-kj5fj2gw5e
@user-kj5fj2gw5e Жыл бұрын
ขอบพระคุณค่ะคุณหมอ
@nuntamuang-ngam9066
@nuntamuang-ngam9066 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ
@sorayaphromchan6411
@sorayaphromchan6411 9 ай бұрын
ขอบคุณค่ะ ได้ประโยชน์มากมายค่ะ
@rutmanapont4928
@rutmanapont4928 Жыл бұрын
ขอบคุณมาก มีประโยชน์มากเลยครับ
@sudaluksonsri6366
@sudaluksonsri6366 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ❤🎉❤
@annaphuetsingha2254
@annaphuetsingha2254 Жыл бұрын
ขอบุณมากนะคะคุณหมอ
@payungsri8249
@payungsri8249 10 ай бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ
@user-fj9zv7fw1r
@user-fj9zv7fw1r 7 ай бұрын
ขอบคุณครับคุณหมอ
@pongki_gyt
@pongki_gyt Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอ ได้ความรู้มากเลยค่ะ
@user-zd2mv4qw3q
@user-zd2mv4qw3q Жыл бұрын
กราบขอบพระคุณค่ะคุณหมอ
@rossakorntuk9282
@rossakorntuk9282 9 ай бұрын
ขอบพระคุณ อาจารย์หมอมากค่ะ
@user-gq7bp9je5d
@user-gq7bp9je5d Жыл бұрын
ขอบคุณที่มอบความรู้ให้ค่ะ❤❤❤
@dusitapamornsoot7045
@dusitapamornsoot7045 10 ай бұрын
ขอบพระคุณ ค่ะ คุณ หมอ 🙏
@wanchalongsonderbauer7792
@wanchalongsonderbauer7792 Жыл бұрын
ขอบคุณ คุณ หมอ มากๆค่ะ
@leo-jx2mh
@leo-jx2mh Жыл бұрын
ขอบคุณครับพี่หมอ🙏♥️♥️♥️♥️
@ubolngardenhouse5887
@ubolngardenhouse5887 11 ай бұрын
ขอบคุณ อจ หมอมากๆนะคะ
@ltbsupply
@ltbsupply Жыл бұрын
ขอบคุณมากครับอาจารย์หมอ❤❤❤
@user-nc3wx3fu4v
@user-nc3wx3fu4v 5 ай бұрын
กราบขอบพระคุณคุณหมอมากค่ะ
@suwanatatnina
@suwanatatnina 2 ай бұрын
ขอบคุณค่ะ คุณหมอ Tany
@user-dt9fv6xg1h
@user-dt9fv6xg1h 9 ай бұрын
ชอบฟังหมอพูดค่ะ ❤
@user-jz4mj8st7g
@user-jz4mj8st7g Жыл бұрын
ขอบคุณ​คุณ​หมอ​มาก​คะได้​ความรู้​มากเลยคะ
@user-tq9nh7rx5l
@user-tq9nh7rx5l 4 ай бұрын
คลิบคุณหมอ มีประโยชน์มากค่ะ
@Hoshi1451
@Hoshi1451 Жыл бұрын
☺️ขอบคุณอจ.หมอมากค่ะ🧸🐰🥕
@user-nl3do1vr2n
@user-nl3do1vr2n Жыл бұрын
สวัสดีค่ะอาจายร์หมอ ขอบพระคุณมากค่ะ🙏💜
@siripatthitikornpongsathon3016
@siripatthitikornpongsathon3016 Жыл бұрын
ขอบคุณ อจ.หมอ ค่ะที่ให้คนอื่นตอบแทนให้
@user-mr8fp6lo6g
@user-mr8fp6lo6g Жыл бұрын
สวัสดีเจ้าคุณหมอขอบคุณเจ้า❤❤❤❤
@pens7445
@pens7445 10 ай бұрын
ขอบคุนข้อมูลดีๆ คุนหมอจงเจริญค่า...
@user-vr8cy1zc3x
@user-vr8cy1zc3x Жыл бұрын
มาคะ ขอบคุณคะ อาจารย์หมอ. ❤️🙏❤️
@skvivo1453
@skvivo1453 9 ай бұрын
เป็นคุณหมอที่ยอดเยี่ยมมาก
@kanjanaanyrukratchada2719
@kanjanaanyrukratchada2719 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ
@kenkennykan
@kenkennykan 10 ай бұрын
ชอบเสื้อสีนี้กับรุปการ์ตุนจังงง
@jackschatz2010
@jackschatz2010 Жыл бұрын
ขอบคุณมากค่ะ คุณหมอ ที่ให้ความรู้ และคำแนะนำ
@yupadeethanakitviboon5800
@yupadeethanakitviboon5800 9 ай бұрын
Thanks very for all knowledge that u give to publish and community appreciate kha.❤❤❤❤❤
@supatrasiriwipanan9590
@supatrasiriwipanan9590 2 ай бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ 🙏
@user-wr6rx9eg6v
@user-wr6rx9eg6v 2 ай бұрын
ขอบคุณข้อแนะนำดี ๆ จากคุณหมอ
@user-gz1qf6bb4p
@user-gz1qf6bb4p Жыл бұрын
ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ กำลังมีปัญหาอยู่พอดีเลย❤
@gaewaleegaewalee7941
@gaewaleegaewalee7941 Жыл бұрын
ขอบคุณมากๆค่ะคุณหมอ🙏
@piemlabinphirom55
@piemlabinphirom55 11 ай бұрын
สวัสดี​ค่ะ​อาจารย์​หมอ​
@Euang-Mali
@Euang-Mali Жыл бұрын
😊🌼🍃ขอบคุณมากนะคะ🙏
@kultaleeyaboonsa2347
@kultaleeyaboonsa2347 11 ай бұрын
หมอพูดได้ละเอียดเข้าใจง่าย
@mutitaja-to4ux
@mutitaja-to4ux 9 ай бұрын
🙏❤️❤️❤️❤️❤️ คุณหมอใจดีมากเลยค่ะที่มาสอนคนไทย
@__Nie__
@__Nie__ Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะคุณหมอ เพิ่งถามคุณหมอไปสองสามวันก่อน ดีใจได้ฟังเป็นคลิปด้วย❤
@ALL86898
@ALL86898 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะ🙏อาจารย์แพทย์ คุณหมอแทน😍วันนี้คุณพูดเรื่องข้ออักเสบ เช่น ข้อเข่า ข้อไหล่ ข้อสะโพก ข้อศอก ข้อนิ้ว ข้อมือ ข้อกระดูกสันหลัง อาจเกิดเพราะจากการทำงาน ใช้ข้อนั้นบ่อยๆ มีการบาดเจ็บ เล็กๆน้อยๆ ข้อเสื่อม จากกระดูกอ่อนบาง กล้ามเนื้อรอบๆ อ่อนแอ กระดูกข้อต่อจะมีช่องเล็ก มีน้ำอยู่ในเยื่อหุ้มข้อ ช่วยให้ข้อเคลื่อนไหว ถ้าข้อเสื่อมกระดูกแข็งที่ชนกันจะเกิดเสียงดังเวลากระดูกมาสีกัน🌟มีสาเหตุความเสี่ยงคือ เคยเกิดอุบัติเหตุ อายุเยอะ น้ำหนักเยอะ พันธุกรรม เคยผ่าตัดข้อต่างๆผู้หญิงเป็นมากกว่าชาย คนเป็นเก๊า มีโอกาสเป็นโรคข้อเสื่อมง่าย มีการตรวจภายนอกได้ไม่ต้องเจาะเลือดเว้นแต่สงสัยโรคอื่นๆ ถ้าบวมตามข้อ ต้องเจาะข้อดู การดูแลตนเองตามธรรมชาติเช่น 🌟การลดน้ำหนัก 10%ของน้ำหนักร่างกายปัจจุบัน🌟 การกินอาหาร🌟 การออกกำลังกาย ตรงที่มีการเสื่อมเช่นเข่า.ให้ออกกำลังกล้ามเนื้อขาในยิม ยกขา ตรงๆค้าง และถ่วงน้ำหนักที่บ้านทำได้ การทรงตัว ยืนขาเดียวมีที่เกาะ การใช้ยาทา ต่างๆ เช่นโวทราเรน หรือเจลพริกทาบางๆ ล้างมือด้วยมันแสบถ้าโดนตา การใช้ยา ไทลินนอล พารากินไม่ได้ผล หรืออาหารเสริม วิตามินสังเกตตัวเองถ้า ดีก็ใช้ไป การฉีดสเตรียรอยค์เข้าที่ข้อปีละ3-4ครั้งทำให้เสื่อมอยู่ดี คนเป็นโรคประจำตัวไม่ควรฉีดเพราะไตอาจวายถ้าบ่อย ๆหัวใจอาจมีน้ำท่วมปอด การใช้ไม้เท้า วอลเกอร์ ใส่ที่ดามเข่าช่วยพยุงลดการกด ดามนิ้ว🌟 การผ่าตัด หลายแบบ เปลี่ยนข้อ ไหล่ เข่า ต้องประเมินว่าผ่าแล้วกายภาพได้ไหม เจ็บมากหลังผ่าตัด และต้องออกกำลังกายทนเจ็บ ให้ได้คนที่คิดมาก วิตกกังวล มองโลกในแง่ร้าย เจ็บปวดจะมากกว่าคนอื่น มีวิจัย ออกมาแล้วต้องแก้ไขความคิด ในทางบวกข้อนิ้ว ข้อมือ ถ้าปวดต้องซ่อม ข้อ กระดูกที่มือ เริ่มเป็น ปวด อาจหายเองแต่ลักษณะข้อจะเปลียนไป ขอบคุณความรู้ค่ะ👍❤️🙏
@radda2243
@radda2243 Жыл бұрын
ขอบคุณค่ะจอให้เจริญไปค่ะ
@ALL86898
@ALL86898 Жыл бұрын
@@radda2243 ขอบคุณค่ะ🌷🙏
@lekmaneewat5239
@lekmaneewat5239 Жыл бұрын
ขอบคุณ คุณหมอมากค่ะ
@user-bq1hu5fq8l
@user-bq1hu5fq8l 9 ай бұрын
😊😅ข
@sorayaphromchan6411
@sorayaphromchan6411 6 ай бұрын
ขอบคุณค่ะ ตรงกับโรคที่กำลังเป็นอยู่ พอดี
@movedtodiffchannel5308
@movedtodiffchannel5308 Жыл бұрын
ไม่ข้ามโฆษณาเลยค่ะ ขอบคุณหมอมากๆ ที่ให้ความรู้ค่ะ🙏😊
@chintanaplangoen
@chintanaplangoen Ай бұрын
กราบขอบพระคุณมากค่ะคุณหมอ มีประโยชน์มากค่ะ
@gsghvcg5525
@gsghvcg5525 Жыл бұрын
ขอบคุณ​คุณหมอ​ที่ให้ความรู้​ค่ะ​ พี่เป็นข้อเสื่อมและรูมาตอยค่ะ
@arunyasomjai6277
@arunyasomjai6277 Жыл бұрын
ขอบพระคุณ​#คุณหมอ#ที่มีความเมตตาอนุเคราะห์​ให้ความรู้​แด่เพื่อนร่วมโลกในยามทุกข์##ได้ความรู้มาก#🙏👍👍👍💖💖💖🐿️
@TheChampalao
@TheChampalao 5 ай бұрын
Vielen Dank für gute Information .
@user-qk1gh2xr5o
@user-qk1gh2xr5o 11 ай бұрын
ขอบพระคุณมากค่ะคุณหมอ ได้ความรู้มากค่ะเป็นทุกข้อค่ะทรมานสุดๆเลยค่ะ
@orawanboonmee9416
@orawanboonmee9416 2 ай бұрын
ขอบคุณคุณหมอมากอธิบายดีมากๆ อาการเรามาแล้วตอนนี้
@Phanita999
@Phanita999 Жыл бұрын
หน้าปก เสื้อแดง ยิ้มแย้มแจ่มใส น่ารักดีค่ะ อาจารย์ ❤
@noodeep3789
@noodeep3789 Жыл бұрын
ขอบคุณๆหมอมากๆเลยคะ ให้ความรู้กับคนป่วยได้ดีมากคะ เข้าใจง่าย ขอบพระคุณอีกครั้งนะคะ
@tippyletsgo8679
@tippyletsgo8679 Жыл бұрын
คุณหมอหน้าตาวัยรุ่นมาก เพิ่งรู้จักค่ะ
@Spt_N_25
@Spt_N_25 Жыл бұрын
ยอดติดตาม 4 5 7 แสน🤖🤖 ยินดีด้วยค่ะ🥁🥁
@boomsong5729
@boomsong5729 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์ โรคข้อเสื่อม เกิดขึ้นจากกระดูกอ่อนที่อยู่ปลายของกระดูกในข้อมีการเสื่อม กระดูกอ่อนผิวข้อทำหน้าที่ ป้องกันไม่ให้กระดูกที่อยู่ภายใต้กระดูกอ่อน กระแทกกับกระดูกอีกฝั่ง หากกระดูกผิวข้อเสื่อม จะส่งผลให้กระดูกใต้ต่อกระดูกอ่อนผิวข้อสัมผัสกัน การรักษาที่มีหลักฐานชัดเจนว่า มีประสิทธิภาพในการรักษาข้อเสื่อมคือการออกกำลังกาย โดยเฉพาะการบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อ ปัจจัยที่มีส่วนร่วมทำให้กระดูกผิวข้อถูกทำลาย - น้ำหนักตัว - กิจกรรมบางอย่างที่ส่งผลให้ข้อต้องรับแรงกดมาก เช่นการนั่งคุกเข่า - ปัจจัยทางพันธุกรรม - อายุที่มากขึ้น ขอบคุณมากค่ะคุณหมอแทน ขอให้คุณหมอและครอบครัว มีสุขภาพแข็งแรงและทีความสุขมากๆนะคะ 🌻🧡🌻
@FragranzaTrippa
@FragranzaTrippa Жыл бұрын
💐ขอแสดงความยินดีด้วยนะคะอาจารย์💐 🎉ตอนนี้ผู้ติดตาม 4.57 แสนคนแล้วค่ะ🎉
@suriyawong75
@suriyawong75 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊
@tussaneesexton3412
@tussaneesexton3412 Жыл бұрын
ผ่าแล้วค่ะตอนนี้กำลังทำกายภาพค่ะ
@jeerayui8981
@jeerayui8981 Жыл бұрын
สวัสดีค่ะคุณหมอ🙏💐 มีประโยชน์มากค่ะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพที่แข็งแรงนะค่ะ และมีความสุข ความสบายใจเสมอค่ะ🙏🌹
@boomsong5729
@boomsong5729 Жыл бұрын
ขอแสดงความยินดีค่ะคุณหมอแทน ยอดผู้ติดตาม 4.57 แสนคนค่ะ สถานีต่อไป 4.58 แสนคนค่ะ ช่อง Doctor Tany ช่องคุณภาพ เนื้อหาหลากหลาย ประโยชน์มากมาย ขอให้ได้ 1 ล้านซับไวๆนะคะ 🌻🧡🌻
@Spt_N_25
@Spt_N_25 Жыл бұрын
วิธีป้องกัน ...ข้อเข่าเสื่อมเร็ว ☑️ควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้มากเกินไป เพื่อให้ข้อเข่ารับแรงกดน้อยลง ☑️หลีกเลี่ยงการนั่งราบบนพื้น นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ ควรนั่งบนเก้าอี้สูงระดับเข่าให้ฝ่าเท้าวางราบกับพื้นพอดี ☑️หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งท่าเดียวนานๆ ควรเปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ ☑️การยืน ควรยืนตรงกางขาออกเล็กน้อยให้น้ำหนักลงที่เข่าทั้งสองข้างเท่าๆกัน ไม่ควรยืนพักเข่าข้างใดข้างหนึ่ง ☑️หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายที่มีแรงกระแทกต่อข้อเข่าสูง เช่น การยกของหนักๆ การกระโดด ควรออกกำลังกายที่ไม่ต้องลงน้ำหนักที่ข้อเข่ามาก เช่น ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน ☑️บริหารกล้ามเนื้อรอบข้อเข่าให้แข็งแรง เพื่อช่วยพยุงและรองรับแรงกระแทกต่อข้อเข่า ☑️เลือกรองเท้าให้เหมาะสมกับกิจกรรมแต่ละประเภท หลีกเลี่ยงการใส่รองเท้าส้นสูง ☑️ระวังการไม่ให้เกิดการบาดเจ็บของข้อเข่า ถ้ามีการบาดเจ็บของข้อเข่าควรรีบรับรักษาทันที ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้นานๆ ถ้ามีความผิดปกติของโครงสร้างเข่าและขา เช่น ขาโก่ง เข่าชิด ควรแก้ไขตั้งแต่อายุน้อยๆ
@armnakornthab6867
@armnakornthab6867 Жыл бұрын
เรื่องการหลีกเลี่ยงการยกของหนักหนักหรือการกระโดดเพราะจะทำให้ข้อเข่าเสื่อม เป็นความเชื่อที่ผิดครับมันถูกต้องเฉพาะเวลาที่เป็นข้อเข่าเสื่อมไปแล้วแต่ไม่จริงสำหรับคนที่ยังไม่เสื่อมครับ ซ้ำร้ายกว่านั้นหากไปออกกำลังกายด้วยกันว่ายน้ำหรือปั่นจักรยานอย่างเดียวก็จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุนสูงด้วยครับ
@Spt_N_25
@Spt_N_25 Жыл бұрын
@@armnakornthab6867 ขอบคุณค่ะ
@user-oy1my8ue5s
@user-oy1my8ue5s Жыл бұрын
ขอบคุณคุณหมอที่สละเวลามาให้ความรู้นะคะ มีประโยชน์มากค่ะ
@ALL86898
@ALL86898 Жыл бұрын
ขอขอบคุณคุณหมอแทนมากๆค่ะ🙏❤️
@uraiwanuraiwan8619
@uraiwanuraiwan8619 9 ай бұрын
คุณหมออธิบายแบบง่ายๆ ฟังแล้วเข้าใจ สามารถปฏิบัติตามได้
@kanokpornmartinez6155
@kanokpornmartinez6155 Жыл бұрын
สีแดง แบบ กุหลาบแดง อาจารย์ มีความรัก สดใส ขอให้พบรักแท้เด้อจ้าาา
@user-uq5lm6qt3y
@user-uq5lm6qt3y 2 ай бұрын
หมอบอกเป็นข้อสะโพกขั้นที่3ตอนนั้นเจ็บขาซ้าย ต่อมาเจ็บขาขวาพอๆกันเลยคับ
@prapeepoungpet5867
@prapeepoungpet5867 11 ай бұрын
มาฟังรอบ2เข้าใจขึ้นเยอะ ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ ขอให้คุณหมอมีแต่ความสุข ความเจริญในชีวิตค่ะ
@sasakornudomrat7173
@sasakornudomrat7173 Жыл бұрын
ขอบคุณคะคุณหมอกรรมพันธ์มีผลมากๆจริงๆคะ ปวดทรมานจริงๆ
@tassaneechuenprasertsuk1370
@tassaneechuenprasertsuk1370 Жыл бұрын
🙏ขอบพระคุณมากๆค่ะคุณหมอแทน คลิปนี้ เป็นอาการของป้า หมดเลย ฟังแล้วทำให้เข้าใจโรคที่เป็น กำลังรักษากับคุณหมอที่รพ.อยู่ค่ะ การที่ได้ฟัง เรียนรู้จากคุณหมอ ทำให้เข้าใจโรคและวิธีรักษาชัดเจนอย่าง มากเลยค่ะ ที่เราไปตรวจ พบคุณหมอๆ ท่านอธิบายเฉพาะจุดที่เราเป็น สั้นๆ แล้วรักษา แล้วนัดครั้งต่อไป เพราะท่านก็มีคนไข้รออยู่เยอะ ที่ไปเป็นรพ.รัฐ คลีนิคพิเศษพรีเมี่ยม เห็นใจคุณหมอและคนไข้ ที่มารอตรวจมากๆ ขอบพระคุณอีกครั้งค่ะ ทำให้เข้าใจตั้งแต่ต้นเหตุ วิธีการรักษา การดูแลตัวเอง ในครั้งเดียวจบ รีบส่งต่อเพื่อนสว.และญาติที่เป็น โรคนี้ ค่ะ🙏❤❤❤
@mathuchan2708
@mathuchan2708 10 ай бұрын
อาการที่คุณหมอพูดมาตรงกับอาการของดิฉันเลยบาดเจ็บที่หัวเข่าต่อมาเข่าเสื่อม ขอบคุณคำแนะนำในการดูแลรักษาค่ะ
@thanachoatchawanasunthornp2091
@thanachoatchawanasunthornp2091 Жыл бұрын
ขอบคุณนะครับคุณหมอ ผมกังวลเรื่องข้อเข่ามากเลยครับ เพราะเป็นทั้งกรรมพันธุ์ แล้วตอนนี้ผมก็ขาโก่งเล็กน้อยด้วยครับ😞😞
@user-wh8cs3we9j
@user-wh8cs3we9j Жыл бұрын
กำลังอยากรู้เลยครับ..ขอบพระคุณคุณหมอมากเลยครับกับความรู้นี้..
@user-cg8ci7pj1i
@user-cg8ci7pj1i 9 ай бұрын
ตั้งแต่่ฟังคุณหมอหลายๆท่านมา มีคุณหมอแทนนี่แหละค่ะที่ให้ความรู้ละเอียดที่สุด ได้รับความรู้มากที่สุดและตรงตามสิ่งที่ดิฉันอยากจะทราบมากที่สุด ขอบพระคุณคุณหมอมากๆนะคะ
@user-tg5zd5es2z
@user-tg5zd5es2z 11 ай бұрын
ขอความกรุณาคุณหมอช่วยอธิบายเรื่องถุงลมปอดขาดการยืดหยุนด้วยค่ะ ขอขอบพระคุณอย่างสูงค่ะ
@jaruneechaichan1614
@jaruneechaichan1614 7 ай бұрын
😍😍😍😍 Thank so much 😍😍😍😍
@Kamonpa33
@Kamonpa33 11 ай бұрын
ฟังอาจารย์แล้วความคิดสำหรับความเจ็บปวดเปลี่ยนไปเลยค่ะ เข้าใจและได้รับความรู้เพิ่มขึ้นมากค่ะ ขอบพระคุณค่ะสำหรับความกรุณาค่ะ
@chabaon6953
@chabaon6953 Жыл бұрын
กราบขอบพระคุณคุณหมอเป็นอย่างสูงค่ะ จะรักษาตัวตามที่คุณหมอแนะนำค่ะ
@user-ot9dj3pg5t
@user-ot9dj3pg5t 10 ай бұрын
ปวดเข่าเมื่อเดินขึ้นบันได เราจะแก้ไขโดย 1.ลดน้ำหนัก 3-4กก. 2.กินคอลลาเจน Type1-2-3 โดยเฉพาะType2 ข้อ3.เลิกนั่งพับเพียบ เลิกนั่งขัดสมาธิ หรือพอรู้ตัวว่านั่งพับขาก็รีบเหยียดขา ตอนนี้หายดีแล้วค่ะ ดีใจที่แก้ได้
@user-ot9dj3pg5t
@user-ot9dj3pg5t 10 ай бұрын
เจอคนรู้จักแถวบ้านอายุเกิน 60ปี บ่วดขาปวดเข่าเพรานั่งรถไปตจว.นาน บอกลดนน. ก่อนเลย ปัญหาอันดับแรก พี่เขาทายาก็ไม่หายเส้นยึดหรือเปล่าไม่แน่ใจค่ะ ที่สำคัญขนาดนั่งเก้าอี้ยังขัดสมาธิ บอกให้เลิกทำก็ไม่ค่อยเชื่อค่ะ น่าจะหายยาก
@pond7812
@pond7812 2 ай бұрын
ไม่รู้สึกฝืดอะไรแล้วหรอครับ คือ หายเป็นปกติแล้วหรอครับ
когда повзрослела // EVA mash
00:40
EVA mash
Рет қаралды 3,6 МЛН
small vs big hoop #tiktok
00:12
Анастасия Тарасова
Рет қаралды 27 МЛН
Пробую самое сладкое вещество во Вселенной
00:41
Василиса наняла личного массажиста 😂 #shorts
00:22
Денис Кукояка
Рет қаралды 10 МЛН
หายใจอย่างไรให้ถูกวิธี
29:17
ทำไมถึงมึนหัวบ่อย
23:28
Doctor Tany
Рет қаралды 67 М.
когда повзрослела // EVA mash
00:40
EVA mash
Рет қаралды 3,6 МЛН