Пікірлер
@user-jm9wr6el3q
@user-jm9wr6el3q Ай бұрын
ขอคาราวะแม่ครู บัวซอน ถนอมบุญ ศิลปินแห่งชาติ บรมครูซอล้านนา งดงามมากครับ
@Paepat2524
@Paepat2524 Ай бұрын
ผมมอญบ้านแพ้ว
@suwitsornprab
@suwitsornprab Ай бұрын
อาจารย์อธิบายดี๊ดี เห็นภาพมากๆ ครับ
@phanyupha1
@phanyupha1 Ай бұрын
อาจารย์อธิบายได้อย่างเห็นภาพและสร้างความเข้าใจใหม่ๆต่อกระบวนการศึกษานโยบาย ที่มักมีคำว่า"เพื่อการพัฒนา" เป็นฉลาก มากเลยค่ะ ไม่ทราบว่าปัจจุบัน อ.ได้มีการตีพิมพ์บทความเรื่องนี้กับทางศูนย์หรือยังคะ อยากติดตาม
@pattarapornbundit5474
@pattarapornbundit5474 Ай бұрын
เยี่ยมยอดค่ะ อ.ศิริพงษ์กับอ.ฉันทวัฒน์ มีมุขกันอยู่เป็นในในอิอิ
@spitchan1717
@spitchan1717 Ай бұрын
🎉ประวัติศาสตร์สำคัญควรคงไว้ศึกษา ได้ความรุ้ขึ้นมาเลยค่ะ
@user-bn7lv5pu5e
@user-bn7lv5pu5e Ай бұрын
คิดถึงตอนเด็กๆชอบดูงิ้วมาก ฟังไม่รู้เรื่องแต่ชอบดู ขอบคุณที่เอามาลงให้ดูคะ🙏
@nat45294
@nat45294 2 ай бұрын
เล่นเก่งมาก สีหน้าท่าทาง
@user-de5ix9vb7w
@user-de5ix9vb7w 2 ай бұрын
ชอบมากๆๆๆ
@AEsche-fg2ul
@AEsche-fg2ul 2 ай бұрын
เมื่อก่อนปีๆหนึ่งต้องได้ยินเสียงดนตรีกระตั้วแทงเสือไม่ต่ำกว่า3-5ครั้ง มันจางหายไปตอนไหน ผมไม่ทันรู้ตัวเลย😢
@user-lw1pr1yc2m
@user-lw1pr1yc2m 2 ай бұрын
ต่อไปผมไปพุกามก่อนโควิด ได้พบภาพเรือขนาดใหญ่ในธํมยันติเจดีย์ ภาพเรือนั้นเขียนอักษรพระนาม รโสกพรหมไว้ แต่เหมือนถูกทาสีทับ แต่เมื่อนำมาแปลงเป็นภาพขาวดำก็เห็นได้ชัด สิ่งที่พบนี้ผมเขียนบันทึกความเห็นไว้ส่วนตัวเป็นตอนๆตามห้วงเวลาการสำรวจหวังว่าจะนำมาลำดับ เพราะสรุปได้แล้วว่า การแพร่พระศาสนาเกิดขึ้นในสมัยพระมหากัสสปะเมื่อศักราชที่ท่ ๑ จนมาถึงพระเจ้าอโศกฯ ๒๑๘ ที่พบในแผ่นดินไทยว่า รโสกพรหม ๒๓๔ ตามด้วย รนรหพรหม ๒๕๖ โสนหพรหม ๒๖๕ วรหพรหม ๒๗๖ และรัสหพรหม ๒๙๖ กษัตริย์ชาวมคธทุกพระองค์ลงท้ายด้วยสร้อยพระนามว่า พรหม..ทุกพระองค์ จากนั้นก็ไม่เคยพบเรื่องหลังศักราช ๓๐๐ ลงมาอีกเลย แต่ที่สำคัญคือ มีผู้ถ่ายภาพมาจากเกาะไหหลำเป็นภาพที่เข้าใจว่าเป็นภาพของเจ้าสายนำ้ผึ้งกับพระธิดาเซี่ยวเฮี๊ยะ หรือเจ้าแม่สร้อยดอกหมากตามที่เชื่อเรื่องเล่าบนศาลจ้าวติดวัดพนัญเชิง ผมจึงสืบค้นหาหลักฐานจนไปถึงละโว้ ก็ได้หลักฐานว่าภาพวาดโบราณนั้นอยู่ในปรางค์แขกที่เป็นผนังแต่เหมือนทาด้วยสีดำเสียแล้วหรือเก่าจนดำมองไม่เห็นจึงไม่มีคนเห็นภาพวาดนั้น เมื่อนำมาปรับชัดเร่งความสว่างภาพก็พบพระนาม รัสหพรหมตามคอมเมนต์ก่อน และภาพบุคคลตรงกลางมีลักษณะคิ้วเฉียงเหมือนคนจีนตามภาพแบบเก่าๆของจีน ส่วนขวามือลดหลั่นด้วยภาพบุคคลผู้หญิงใบหน้าสดใสจึงเชื่อว่าเป็นพระธิดาเซี่ยวเฮี๊ยะ ผมคิดเอาเองนะครับต้องช่วยกันลงความเห็นว่าจักรพรรดิองค์นั้นต้องเป็นถังไท่จงหลี่ซื่อหมิ่นเสียเป็นแน่ จากนั้นมาค้นหาที่ปราสาทนครหลวงตรงปากนำ้ประสบ ก็พบภาพวาดบนผนังด้านนอกชั้นบน เต็มไปด้วยการฉลองรื่นเริงของบุคคลมากมายตลอดรอบชั้นสาม และพระที่นั่ง(โซฟาแต่เป็นปูน)มีภาพและอักษรองค์พระเจ้าแผ่นดินหลายองค์ ปัจจุบันทำการบูรณะขัดแต่งทาสีใหม่เสียหมดโดยเฉพาะชั้นบนที่กล่าวไม่สามารถถ่ายภาพติดเลย ยังมีหลักฐานเป็นร่องรอยเก่าโบราณที่เห็นภาพคนเมื่อพันปีก่อนอีกมากมายเล่าไม่จบครับ ผมเชื่อว่านี่คือหลักฐานที่เป็นประวัติศาสตร์ว่าพระเจ้าสายนำผึ้งคือพระสวามีพระนางจามเทวีที่เสด็จไปประทับที่หริภุญไชยจริง เพื่อผลิตเครื่องเครือบดินเผาที่สามารถพิสูจน์ทราบได้เพราะเครื่องเคลือบทั้งหลายเมื่อนำมาถ่ายภาพแล้วแปลงเป็นเนกกาตีฟ ก็จะเห็นภาพแขกขาว เห็นพระนาม เพราะการผลิตเครื่องเคลือบใช้การเทนำดินขาวลงไปแบบแม่พิม์ เมื่อแม่พิมพ์มีภาพใดอยู่ก็จะติดมาบนชามเครื่องดินเผานี้ ที่สำคัญคือได้พบว่าพระพุทธรูปที่เล่าว่าเป็นสุโขทัยนั้นหากขยายก็จะพบพระนามดังที่เล่าทุกองค์ แม้แต่พระแก้วมรกต หรือพระสุโขทัยไตรมิตร เราจึงรู้ว่า การได้เงินทองมาสมัยพระธิดาก็เอามาสร้างพระพุทธรูปทองคำห้าตันไว้แก่คนไทยนั่นเอง
@user-lw1pr1yc2m
@user-lw1pr1yc2m 2 ай бұрын
ผมเพิ่งได้ดูคริปนี้ครับ ด้วยความเคารพอาจารย์เข้าใจผิดทั้งหมดแล้วครับ ผมอ้างอิงการสำรวจเมืองโบราณด้วยการถ่ายภาพแล้วนำมาศึกษารายละเอียดด้วยคอมพิวเตอร์............ผมได้พบอักษรที่เราอ่าน ใช้ กันอยู่ในปัจจุบันนี้เขียนไปบนกำแพงวัดศรีสวายครับ เขียนว่า รโสกพรหม ๒๓๔ และรอบกำแพงทั้งนอกและในเต็มไปด้วยภาพวาดใบหน้าบุคคลที่บอกลักษณะของแขกขาว แขกดำ โดยเฉพาะมองจากด้านหลัง กำแพงยาวเหยียดมีประตูเข้าออกไปยังปรำพิธีซ้ายมือ บนกำแพงนี้เรียงอิฐเป็นภาพใบหน้าบุคคล เดิมระบายสีไว้(ต้องเพิ่มความเข้มสีด้วยคอมฯ ) เราจะเห็นอักษรที่เรียงด้วยอิฐแลงให้นูนขึ้นมาประมาณหนึ่งนิ้วเป็นอักษรที่เราอ่านได้จึงรู้ว่าภาพนั้นประกอบด้วย พระนาม รโสกพรหม รนรหพรหม โสนหพรหม วรหพรหม มันเป็นการค้นพบที่พบต้องติดตามหาคำตอบเป็นเวลาสิบปีเต็ม มีภาพเรียงรายตลอดความยาวกำแพงด้านหลังนี้ที่มองตามปกติจะไม่เห็นอะไรว่ามีภาพใบหน้าบุคคล เรือศึกหัวนกแบบสุพรรณหงษ์ มีช้างแสดงถึงกองทัพ มีปืนใหญ่ที่ประกอบด้วยพลยิงตามขอบที่ยกระดับเหมือนป้อมปราการ ฟังดูตลกนะครับ แต่มันมีอยู่จริงๆ โดยเฉพาะสัชนาลัยบนกำแพงด้านในเริ่มจากทางเข้าก่อนถึงเรือนรับรอง จะมีการเรียงอิฐแลงนี้ยื่นออกมาราวสามนิ้วเหมือนจงใจจะทำขั้นบันได แต่พิจารณาให้ดี จะเห็นว่าเขาเรียงเป็นรูปเรือศึกหัวนก ยาวประมาณสิบเมตรแล้วต่อด้วยภาพต่างๆไปจนสุดกำแพงช่วงนี้ ผมศึกษาด้วยการอ่านอักษรที่เชื่อว่ามันเกิดมาตั้งแต่สมัยแรกสร้างแล้วครับ มาที่กำแพงเพชร เริ่มต้นตรงไหนก็จะพบว่าที่เรามองว่าเป็นอิฐแลงเรียงกันนั้นมันเป็นรูปใบหน้าแขกดำ แขกขาวรอบกำแพงทั้งนอกและใน ผมตามถ่ายภาพเป็นช่วงๆทุกตอน แล้วมาขยายด้วยคอมที่สามารถบีบภาพให้เล็กลงบนจอ เราจึงเห็นภาพที่น่าจะถูกเรียกว่าขอมนั่นเอง เรื่องนี้ยาวมากครับ แต่หากจะเล่าก็จะพบว่า จากศักราช ๒๓๔ มาถึง ๓๕๐ ก็จะเป็นประวัติศาสตร์ของนครวัดที่เริ่มขึ้น ผมจึงไปนครวัดก็พบศิลปะแบบเดียวกันที่คนไม่เห็น และพบพระนาม รโสกพรหมเช่นเดียวกัน หากอาจารย์จับความเพียงศักราช ๖๓๕ หรือยุคสมัยพ่อขุนศรีฯ ก็จะเป็นเรื่องเพียงครึ่งเดียวเท่านั้นเอง หากเชื่อมต่อยอดขึ้นไป ๖๓๕ ปีก็จะถึงเรื่องตามราชวังสะล้านนา เป็นคำตอบว่านับย้อนหลังเป็นไปได้ ๑๓๘๕ ปีตรงกับสมัยราชวงศ์ถัง และหากทบทวนว่าจารึกของกลาสีเรือจีนที่จดบันทึกในปูมเดินเรือเล่าว่า..........บ้านเมืองนี้แปลกที่ผู้คนเขียนหนังสือไว้เต็มบ้านเมืองเต็มไปหมด ...มันจึงเป็นความจริงที่เราพบสิ่งที่กล่าวไว้นั้นแล้ว เพราะเมืองอยุธยาทั้งเมืองทุกแห่งก็มีศิลปะการก่อสร้างที่เหมือนกับการกล่าวข้างต้นทั้งหมด และมีอักษรตัวเล็กๆประกอบภาพที่สร้างไว้มันอ่านยากมาก จึงเล่าแต่เพียงว่า พระนามเท่านั้นที่ใหญ่มากจนอ่านได้ ................สุโขทัยของอาจารย์เล่าเพียงครึ่งเดียวจริงๆ ส่วนที่ลึกไปกว่านี้พากันไปต่อยอดด้วยเรื่องนครวัดเสียทั้งหมด แล้วลามจากศักราช ๓๕๐ ขึ้นไปเป็นฟูนานเสียอีก
@tgzone2982
@tgzone2982 2 ай бұрын
น่าสนใจมากๆ ครับ
@user-vv3tu5ou3m
@user-vv3tu5ou3m 2 ай бұрын
มีสาระดีมาก
@user-zj2ly2np4y
@user-zj2ly2np4y 3 ай бұрын
เยี่ยมครับ
@Mmiilove
@Mmiilove 4 ай бұрын
เป็นหนังสือที่น่าซื้อมาอ่าน
@user-gq6zs5gz9r
@user-gq6zs5gz9r 4 ай бұрын
ชอบดู เครื่องแต่งกาย ลีลาการร่ายรำ วัฒนธรรมทางการแสดง
@maetallon6556
@maetallon6556 5 ай бұрын
Lochac หลอฮก ละโว้😅
@user-fs2ij3ev4c
@user-fs2ij3ev4c 5 ай бұрын
นักวิจัยวิทยาศาสตร์ไทยเก่งที่สุดในโลก
@rudaali2007
@rudaali2007 5 ай бұрын
🙏🏼🙏🏼🙏🏼
@moddang4046
@moddang4046 5 ай бұрын
ชาวไทอาหมมีตำราการดูกระดูกไก่
@man_in_darkroom
@man_in_darkroom 5 ай бұрын
จากวีดีโอยิ่งชัดเจนว่าคนสยามหรือเสียมหรือชุมชนร้อยเผ่าตามบันทึกจีนอยู่ในพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นานแล้ว ไม่ใช่เพิ่งเข้ามายุคสุโขทัยอย่างที่นักวิชาการไทยบางคนพูดไว้ ภาษาไตจึงเป็นภาษาท้องถิ่นที่ติดตัวมา แต่รับเอาการเมืองการปกครองและความเชื่อจากอินเดียภาษาขอมจึงกลายเป็นภาษาราชการในสมัยนั้น
@lovever7801
@lovever7801 5 ай бұрын
หม้อสามขาเอาไว้อุ่นเหล้า คนโบราณขี้เมาน่าดู5555
@user-uv9vi7hw3j
@user-uv9vi7hw3j 5 ай бұрын
ที่ จ.เลย มีแหล่งแร่ตะกั่ว..หรือภาษาถิ่นเรียกว่าซืน..ที่บ้านบ่อซืน อ.ปากชม จ.เลย ครับ
@jetmeebua4235
@jetmeebua4235 5 ай бұрын
สามชั่วโมงปลาย ขอบพระคุณนักครับ
@jetmeebua4235
@jetmeebua4235 5 ай бұрын
ไม้ไร่ คือ ไม้ไผ่ชนิดหนึ่ง เป็นไผ่บ้านไผ่ปลูก ไม่ใช่ไผ่ป่า ใช้ประโยชน์เชิงก่อสร้าง มากกว่า กินหน่อ
@metahiso
@metahiso 5 ай бұрын
กลองมโหระทึก นั้นแหละ คือ สินค้าไฮเทค ในยุคนั้นสมัยนั้น ใคร ๆ ก็อยากครอบครอง มันคงดูดี เท่ห์ เป็นหน้าเป็นตาของบ้านได้ ( คงเหมือนไอโฟน สมัยปัจจุบันมั๊ง ที่ใคร ๆ ก็อยากได้ ) นี่ก็อาจเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้คนพูดภาษาไทย ... หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก ... สิบเอ็ด ร้อยเอ็ด ... แพร่ไปทั่วภูมิภาคนี้ จนกลายเป็นภาษากลางทางการค้าไปโดยปริยาย
@chaturongphuto6518
@chaturongphuto6518 5 ай бұрын
หินมีรู​ พบที่ทุ่งยั้งอุตรดิตถ์​ พบในชั้นลึก2เมตรใต้ฐาน​ น่าจะเป็นเจดีย์​ก่อด้วยแลง เพราะพบร่วมกับโถดินใส่กระดูก​ คิดว่าน่าจะเป็นเครื่องมือบดยา​ ที่มีไม้กลมเสียบกลาง
@user-ro3sm3zs6c
@user-ro3sm3zs6c 5 ай бұрын
อาณาจักรสาง(ซาง) เป็นของกลุ่มคนที่พูด ออสโตร-ไท
@thitiset
@thitiset 5 ай бұрын
@jasaethao5626
@jasaethao5626 5 ай бұрын
เกอ มีการขุดพบที่อุตรดิตถ์และสุโขทัย เป็นการพบโดยบังเอิญจากพวกขุดหาของโบราณ
@happyoflifenursemen2525
@happyoflifenursemen2525 5 ай бұрын
เป็นคลิปที่ทรงคุณค่ายิ่งครับ
@Wanchai-im7us
@Wanchai-im7us 6 ай бұрын
ระลึกท่านอาจารย์วินัย
@user-ur9pc6qo6e
@user-ur9pc6qo6e 7 ай бұрын
อาจารย์ต้องดูกลุ่ม ไตใหญ่ที่มีเมืองปยูได้รัฐฉาน และเมืองทางตอนเหนือพม่า ได้เมืองสกาย เมืองปินยา เมืองคะฉิ่น ในยุคสามพี่น้องไตด้วย ยุคใกล้เคียงกับเสือข่านฟ้าที่ไปที่อาหม (ยุคเดียวกับพ่อขุนรามลงมาทีสุโขทัย)ต้องดูว่าคนกลุ่มนั้นฟันดำไหม ส่วนละว้าทีมียีนใกล้เคียงกับคนสยามนี้แหละฟันดำจริงๆ
@Official-ip2mx
@Official-ip2mx 7 ай бұрын
ติดตามครับ
@quckin
@quckin 8 ай бұрын
หัวข้อนี้น่าสนใจมากเลยครับ
@user-jq6nx2iv3g
@user-jq6nx2iv3g 8 ай бұрын
สงสัยเรื่องหน่อปลึงอย่ขอวิธีการทำอีกสักหน่อยได้บ่
@sanpetchsrithong7033
@sanpetchsrithong7033 8 ай бұрын
พระเจ้ากรุงธนบุรี สำคัญมาก ๆ ครับ ยุคสมัยท่านเป็นรอยต่อสำคัญมาก ขอบคุณผู้จัดและอาจารย์ที่แบ่งปันครับ
@taotervv
@taotervv 9 ай бұрын
ขอบพระคุณครับผมที่ให้ความรู้ครับ
@sanpetchsrithong7033
@sanpetchsrithong7033 9 ай бұрын
อ.สุเนตร อธิบายเห็นภาพเชื่อมโยงมาก ๆ ขอบคุณครับ
@user-gn1vz1vt3y
@user-gn1vz1vt3y 9 ай бұрын
ขอบคุณครับ สำหรับสิ่งดีๆ
@user-gn1vz1vt3y
@user-gn1vz1vt3y 9 ай бұрын
ขอบคุณครับ
@user-gn1vz1vt3y
@user-gn1vz1vt3y 9 ай бұрын
ขอบคุณครับ สำหรับข้อมูลดีๆ
@user-gn1vz1vt3y
@user-gn1vz1vt3y 9 ай бұрын
ขอบคุณครับ
@user-zb5lb8vj7c
@user-zb5lb8vj7c 9 ай бұрын
พูด มีจังหวะไม่เร็ว ชัด ฟ้งแล้วเพลิดเพลิน สบายใจได้ ความรู้สึกร่วม
@hks-vf6pb
@hks-vf6pb 9 ай бұрын
❤รักและคิดถึงสายใยลูกหลาน❤ อาจารย์ฉลาดชาย รมิตานนท์❤❤❤❤ถึงเวลาที่ลูกสะไภ้รมิตานนท์อยากเล่าเรื่องที่ได้ค้นพบสิ่งที่เรียกว่าลึกซึ้งและได้เล่าเรื่องราวที่อยากเล่าเพื่อระลึกถึงคุณความดีที่เราพึ่งซาบซึ้งใจคะ
@user-ih8bs6ck2t
@user-ih8bs6ck2t 9 ай бұрын
ตามมาจากออเจ้า บุพเพสันนิวาส ชอบมากค่ะ ขอบคุณค่ะ
@nantawanpimsuwannasri5352
@nantawanpimsuwannasri5352 9 ай бұрын
อ.ปกรณ์ เล่นระคร เล่นลิเก ร้องเพลงชอบทุกอย่างค่ะสุดยอด
@PattarasitTangkeattiwong
@PattarasitTangkeattiwong 9 ай бұрын
ข้อผิดพลาด น่านใกล้หลวงพระบางไม่ใช่เวียงจันทร์ครับ
@siriwanpinthong2955
@siriwanpinthong2955 10 ай бұрын
เพราะมากค่ะ